Page 81 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 81
การจ ัดประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับการวัด 6-71
จะพ บว า่ ไมส่ ามารถว ดั ค า่ ไดเ้ หมอื นเดมิ การท ดลองน แี้ สดงใหเ้ หน็ ถ งึ ค วามจ ำ�กดั ข องเครือ่ งช ัง่ ส ปรงิ ว า่ จ ะว ดั ได้
ไม่ถูกต้องถ ้าหากสปริงย ืด ดังน ั้น การทดลองนี้จ ึงช ่วยให้นักเรียนเข้าใจถ ึงว ิธีการรักษาเครื่องช ั่งด ้วย
กิจกรรมท่ี 3 การคาดค ะเนน้าํ หนกั
วัตถุประสงค์ นักเรียนสามารถค าดค ะเนนํ้าห นักแ ละเปรียบเทียบน ํ้าหนักท ี่ค าดค ะเนกับการชั่งจริง
อุปกรณ์ กล่องใส่ข อง 2 กล่อง ขนาดเท่ากัน (หนักกล่องล ะ 1 กิโลกรัม และ 1 กิโลกรัม 8 ขีด)
สถานการณ์ ม ีข องอ ยู่ 2 กล่องที่มีขนาดเท่ากัน แต่น ํ้าหนักต่างก ันไม่รู้ว ่ากล่องไหนห นักเท่าใด แต่ม ีกล่อง
หนึ่งที่หนัก 1 กิโลกรัมพ อดี นักเรียนต้องคาดคะเนนํ้าหนักและบอกว่าของกล่องใดหนัก 1
กิโลกรัม และอีกกล่องห นึ่งหนักเท่าใด แล้วชั่งจริงเพื่อตรวจสอบและบ อกนํ้าห นักที่ชั่งได้
วิธีก าร ให้น ักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต ่อไปนี้ตามลำ�ดับและตอบค ำ�ถามโดยเขียนค ำ�ต อบล งในช่องว่าง
1. คาดคะเนนํ้าห นักข องท ั้งส องก ล่อง
นักเรียนค ิดว่าก ล่องใดห นัก 1 กิโลกรัมพ อดี
ตอบ_________________________
2. นักเรียนคิดว่า ของอีกก ล่องห นึ่ง
(1) หนักก ว่าหรือเบาก ว่า 1 กิโลกรัม
ตอบ_________________________
(2) น่าจะห นักเท่าใด
ตอบ_________________________
3. ชั่งน ํ้าห นักข องท ีล ะกล่อง ของแต่ละกล่องหนักเท่าใด
ตอบ_________________________
กิจกรรม 3 เป็นการวัดทักษะการคาดคะเนนํ้าห นักของน ักเรียน ครูควรส ังเกตว ่านักเรียนคาดคะเน
นํ้าห นักโดยก ารย กส ิ่งของห รือไม่ ถ้าน ักเรียนท ีม่ ที ักษะในก ารค าดค ะเนน ํ้าห นัก นักเรียนไมค่ วรค าดค ะเนด ้วย
สายตาแ ต่ค วรล องย กส ิ่งของแ ละก ะป ระมาณน ํ้าห นัก หลังจ ากน ั้นค รูจ ึงป ระเมินว ่าน ักเรียนส ามารถค าดค ะเน
นํ้าหนัก 1 กิโลกรัม ได้ถูกต้องห รือไม่
ในการสอนการวัดนํ้าหนักนี้ ถ้าโรงเรียนใดใช้เครื่องชั่งสองแขน (คือเครื่องชั่งประเภทที่ต้องใส่ตุ้ม
นํ้าหนักจนเกิดการสมดุลระหว่างตุ้มนํ้าหนักกับนํ้าหนักของสิ่งของที่ต้องการวัด) ครูจำ�เป็นต้องแสดงให้
นักเรียนเข้าใจแนวคิดของก ารสมดุล โดยอาจใช้ก ิจกรรมทำ�นองเดียวกันกับกิจกรรมที่ 2 แต่เปลี่ยนจ ากการ
สร้างเครื่องช ั่งส ปริงเป็นการสร้างเครื่องช ั่งส องแขน หรืออ าจใช้กระดานหกเป็นสื่อในก ารอ ธิบายแ นวคิดข อง
การสมดุลไ ด้เช่นกัน
หลังจ ากศกึ ษาเนือ้ หาสาระเรอื่ งท่ี 6.5.2 แลว้ โปรดปฏิบัตกิ จิ กรรม 6.5.2
ในแ นวก ารศึกษาห นว่ ยที่ 6 ตอนท่ี 6.5 เรอ่ื งที่ 6.5.2