Page 78 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 78
6-68 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
สำ�หรบั ป ระเทศไทย หนว่ ยง านท ใี่ หบ้ รกิ ารส อบเทยี บม วลต ามว ธิ มี าตรฐานส ากลค อื กรมว ทิ ยาศาสตร์
บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรมว ิทยาศาสตร์บ ริการ (วศ.) เป็นหน่วยงานข องร ัฐบาลที่ให้
บริการด้านการสอบเทียบและวิเคราะห์ทดสอบแก่หน่วยงานทั้งทางภาครัฐและภาคเอกชน โดยมีกลุ่มงาน
สอบเทียบเครื่องม ือว ัดว ิเคราะห์ท ดสอบโครงการฟ ิสิกส์แ ละว ิศวกรรม เป็นผ ู้รับผ ิดช อบในก ารให้บ ริการก าร
สอบเทียบด้านต่างๆ รวมท ั้งการสอบเทียบด ้านม วล เครื่องช ั่ง เครื่องแ ก้วและปริมาตร ที่ให้บริการแก่ลูกค้า
ทั้งภายในและนอกกรมวิทยาศาสตร์เป็นจำ�นวนมาก
หลงั จากศกึ ษาเนื้อหาส าระเร่อื งที่ 6.5.1 แลว้ โปรดปฏบิ ตั ิก จิ กรรม 6.5.1
ในแนวก ารศกึ ษาห นว่ ยที่ 6 ตอนท่ี 6.5 เรื่องท่ี 6.5.1
เร่ืองท่ี 6.5.2 การสอนก ารว ดั นํา้ หนกั
การส อนก ารว ัดนํ้าหนักม ีห ลักก ารส ำ�คัญ ดังนี้
1. นกั เรยี นจ ะส ามารถท ำ�ความเข้าใจเรื่องก ารว ดั น ํา้ ห นกั ไดด้ ี ต่อเมือ่ น กั เรยี นม คี วามส ามารถในก าร
อนุรักษ์นํ้าห นัก (Conservation of Weight)
การอนุรักษ์นํ้าหนัก ความสามารถในการอนุรักษ์นํ้าหนัก คือ ความสามารถที่จะทำ�ความเข้าใจได้
ว่า นํ้าหนักของวัตถุจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงเมื่อรูปร่างของวัตถุเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งสามารถตรวจสอบได้
จากก ารทดลองด ังต ่อไปนี้
1) นำ�ด ินนํ้ามันสองก้อนซึ่งมีขนาดและรูปร่างเหมือนกันวางบนจานของเครื่องชั่งสองแขน
ข้างละก้อน
2) ซักถามนักเรียนเกี่ยวกับนํ้าหนักของดินนํ้ามันทั้งสองก้อน ซึ่งนักเรียนจะสามารถตอบได้
ว่าม ีน ํ้าหนักเท่าก ัน เนื่องจากจ านข องเครื่องชั่งส มดุลก ัน คือ ไม่เอียงไปข้างใดข ้างห นึ่ง
3) หยิบด ินน ํ้ามันท ั้งส องก ้อนอ อกจ ากจ านเครื่องช ั่ง แล้วเปลี่ยนร ูปร ่างข องด ินน ํ้ามันก ้อนห นึ่ง
ให้ม ีร ูปร่างแบบอื่น เช่น ทำ�เป็นแ ท่งยาว หรือแบ่งออกเป็นก้อนเล็กๆ หลายๆ ก้อน
4) อภิปรายซักถามเกี่ยวกับสมดุลของจานตาชั่ง เมื่อนำ�ด ินนํ้ามันกลับไปใส่ในจานตาชั่งตาม
เดิม
นักเรียนที่มีความสามารถในการอนุรักษ์นํ้าหนัก คือ นักเรียนที่สามารถตอบได้ว่าตาชั่งจะสมดุล
ไม่เอียง ถ้าหากค รูพบว่านักเรียนคนใดย ังไม่มีความสามารถในการอนุรักษ์นํ้าหนัก ครูค วรจ ัดประสบการณ์
ด้านก ารอนุรักษ์น ํ้าห นักให้แ ก่นักเรียน