Page 77 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 77

การ​จัด​ประสบการณ์​การเ​รียนร​ ู้​เกี่ยว​กับ​การ​วัด 6-67

       ระบบห​ น่วย​การช​ ั่งน​ ํ้าห​ นักแ​ บบ​ไทย
            	 2	 เฟื้อง	 เป็น	 1	 สลึง
            	 4	 สลึง	 เป็น	 1	 บาท
            	 4	 บาท	 เป็น	 1	 ตำ�ลึง
            	20	 ตำ�ลึง	 เป็น	 1	 ชั่ง
            	50	 ชั่ง	 เป็น	 1	 หาบ

       ระบบห​ น่วย​การ​ชั่ง​นํ้า​หนัก​แบบ​ไทย​เทียบก​ ับแ​ บบ​เมตริก
            	 1	 บาท	 เป็น	 15	 กรัม
            	 1	 ชั่งห​ ลวง	 เป็น	 600	 กรัม
            	 1	 หาบห​ ลวง	 เป็น	 60	 กิโลกรัม

       ถ้าพ​ ิจารณาค​ วาม​สัมพันธ์ข​ อง​หน่วย บาท ชั่ง​หลวง และ​กรัมแ​ ล้ว จะเ​ห็นว​ ่า​ไม่​สอดคล้องก​ ัน กล่าว​
คือ​ถ้า​ตั้ง​ความ​สัมพันธ์​ว่า 1 บาท เป็น 15 กรัม แล้ว​ยึด​มาตรา​เทียบ​นํ้า​หนัก​แบบ​ไทย​ดัง​ที่​กล่าว​ไว้​ข้าง​ต้น​
จะ​พบว​ ่า 1 ชั่ง ต้อง​เป็น 1,200 กรัม (20 ตำ�ลึง × 4 บาท × 15 กรัม) แต่ก​ ลับก​ ลายเ​ป็น 1 ชั่ง​หลวง เป็น
600 กรัม ที่​เป็นด​ ังนี้เ​พราะห​ น่วยก​ ารช​ ั่งม​ ี 2 แบบ คือแ​ บบห​ นึ่งม​ ี 1,200 กรัม ส่วน​อีก​แบบห​ นึ่ง​มี 600 กรัม
ซึ่งพ​ ระร​ าชบ​ ัญญัติ​มาตรา​ชั่ง ตวง วัด พ.ศ. 2466 กำ�หนด​ให้​ใช้ค​ วาม​สัมพันธ์แ​ บบ 1 ชั่ง มี 600 กรัม โดย​
กำ�หนด​ให้เ​รียก​ชื่อว​ ่า ชั่งห​ ลวง

หนว่ ย​การ​ชัง่ ​ที่ใ​ช​ใ้ นช​ ีวิตป​ ระจ�ำ ​วนั

       หน่วย​การ​ชั่ง​ที่​ใช้​ใน​ชีวิต​ประจำ�ว​ ัน​ได้แก่ บาง​หน่วย​ของ​ระบบ​เมตริก​และ​บาง​หน่วย​ของ​ระบบ​ไทย
หน่วย​การ​ชั่ง​ใน​ระบบ​เมตริก​ที่​ใช้​กัน​อยู่​โดย​ทั่วไป​ได้แก่ เมตริกตัน กิโลกรัม และ​กรัม ส่วน​หน่วย​อื่น​ก็​มี
มิลลิกรัม ซึ่ง​ส่วน​ใหญ่​ใช้​ใน​ห้อง​ปฏิบัติ​การ​วิทยาศาสตร์​ที่​ต้องการ​ความ​ละเอียด​ใน​การ​ชั่ง​สูง ใน​การ​ซื้อ​ขาย​
ตามท​ ้องต​ ลาด​ไม่น​ ิยมใ​ช้​หน่วยก​ รัมเ​ป็น​เศษข​ องก​ ิโลกรัม แต่​นิยม​ใช้ค​ ำ�ว​ ่า ขีด แทน ซึ่ง​มี​ค่า​เท่ากับ 100 กรัม

       สำ�หรับห​ น่วย​การช​ ั่ง​แบบ​ไทย​ที่ย​ ัง​มีใ​ช้​อยู่​กันบ​ ้าง​ได้แก่ ชั่ง บาท สลึง เฟื้อง ซึ่งห​ น่วย​บาท สลึง และ​
เฟื้อง ใช้เ​ฉพาะ​การ​ชั่งท​ อง

       นอกจาก​นี้​ไทย​เรา​ยัง​ใช้​หน่วย​กะรัต (Carat) ซึ่ง​เป็น​หน่วย​มาตรฐาน​สากล​ใน​การ​วัด​นํ้า​หนัก​เพชร
พลอย หนึ่งก​ ะรัต มีค​ ่า​เท่ากับ 20 เซนติกรัม หรือ 200 มิลลิกรัม

การ​สอบเ​ทยี บ​มวลม​ าตรฐาน

       ในป​ ระเทศท​ ี่พ​ ัฒนาแ​ ล้วห​ รือป​ ระเทศท​ ี่ก​ ำ�ลังพ​ ัฒนาห​ ลายๆ ประเทศ จะม​ ีส​ ถาบันแ​ ห่งช​ าติร​ ับผ​ ิดช​ อบ​
ใน​การ​สอบ​เทียบ​มวล​ให้​ถูก​ต้อง​ที่สุด​โดย​ใช้​วิธี​การ​ตาม​มาตรฐาน​สากล สถาบัน​บาง​แห่ง​ให้​บริการ​การ​สอบ​
เทียบแ​ ก่​ประเทศต​ ่างๆ ด้วย สถาบันท​ ี่น​ ับ​ว่า​เชื่อ​ถือไ​ด้ ได้แก่ The National Institute of Standards and
Technology (NIST) ของ​อเมริกา National Physical Laboratory (NPL) ของ​อังกฤษ และ National
Research Laboratory for Metrology (NRLM) ของญ​ ี่ปุ่น
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82