Page 75 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 75

การจ​ ัดป​ ระสบการณ์​การ​เรียน​รู้เ​กี่ยวก​ ับ​การว​ ัด 6-65

ตอน​ท่ี 6.5

การว​ ัดน​ ํ้า​หนัก

โปรด​อ่าน​แผนการส​ อนป​ ระจำ�ต​ อนท​ ่ี 6.5 แลว้ ​จงึ ศ​ กึ ษา​เนือ้ หาส​ าระ พร้อม​ปฏิบตั ิ​กิจกรรมใ​น​แตล่ ะเ​รอ่ื ง

  หวั เ​รอ่ื ง

         เรื่องท​ ี่ 6.5.1	 แนวคิดเ​กี่ยว​กับก​ าร​วัดน​ ํ้าห​ นัก
         เรื่องท​ ี่ 6.5.2	 การ​สอนก​ าร​วัดน​ ํ้า​หนัก

  แนวคิด

         1.	 ม วล​และ​นํ้า​หนัก​ไม่ใช่​สิ่ง​เดียวกัน มวล​หมาย​ถึง​  ปริมาณ​เนื้อ​สาร​ของ​วัตถุ นํ้า​หนัก​  คือ​
            ปริมาณ​ของ​แรงดึงดูด​ของ​โลก​ที่​มี​ต่อ​วัตถุ ระบบ​การ​วัด​นํ้า​หนัก​ที่​พบ​ใน​หลักสูตร​ระดับ​
            ประถม​ศึกษา​และ​มัธยมศึกษา​ตอน​ต้น​มี 2 ระบบ​คือ ระบบ​เมตริก และ​ระบบ​ไทย​หรือ​
            ประเพณีน​ ิยม

         2.	 ก าร​สอน​การ​วัด​นํ้า​หนัก​ควร​เริ่ม​จาก​การ​วัด​โดย​ไม่​ใช้​หน่วย​การ​วัด คือ​  ใช้​วิธี​การ​เปรียบ​
            เทียบก​ ัน​โดยตรงก​ ่อน แล้ว​จึง​สอนก​ ารว​ ัด​โดย​ใช้​หน่วยก​ ารว​ ัด​ที่​ไม่​เป็นม​ าตรฐานแ​ ละ​การ​
            ใช้​หน่วยก​ าร​วัดท​ ี่เ​ป็นม​ าตรฐาน การส​ อน​การ​ชั่ง​นํ้า​หนัก​ควรใ​ช้​สถานการณ์ ปัญหาใ​นช​ ีวิต​
            จริงเ​ป็น​สิ่ง​เร้า เพื่อ​ให้​นักเรียนใ​ช้ก​ ารท​ ดลองเ​พื่อห​ าค​ ำ�ต​ อบ​ด้วย​วิธี​การท​ ี่ห​ ลากห​ ลาย

  วตั ถปุ ระสงค์

         เมื่อศ​ ึกษา​ตอน​ที่ 6.5 จบ​แล้ว นักศึกษาส​ ามารถ
         1.	 อธิบายค​ วามแ​ ตกต​ ่างร​ ะหว่างม​ วลแ​ ละน​ ํ้าห​ นักไ​ดถ้​ ูกต​ ้อง และส​ ามารถบ​ อกช​ ื่อร​ ะบบห​ น่วย​

            การว​ ัดน​ ํ้า​หนัก​ที่​ปรากฏใ​น​หลักสูตร​ได้​ถูกต​ ้อง
         2.	 บอกห​ ลัก​การส​ อน​การ​วัดน​ ํ้า​หนักแ​ ละย​ กต​ ัวอย่างก​ ิจกรรม​การส​ อนก​ ารว​ ัด​นํ้าห​ นักไ​ด้
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80