Page 34 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 34

9-24 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์

ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น จะช่วยให้นักเรียนเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้อย่างมีความหมาย เข้าใจได้อย่าง
กว้างขวางลึกซึ้งและจดจำ�ได้นานมากขึ้นอีกด้วย

       เมื่อสภาครูคณิตศาสตร์แห่งชาติของสหรัฐอเมริกา ได้กล่าวไว้ในหนังสือหลักการและมาตรฐาน
สำ�หรับคณิตศาสตร์ระดับโรงเรียน หนังสือประจำ�ปี ค.ศ. 1996: การสื่อสารในคณิตศาสตร์เกรด K-12 และ
อื่นๆ (Communication in Mathematics K-12 and Beyond) และหนังสือประจำ�ปี ค.ศ. 2001: บทบาท
ของการนำ�เสนอในคณิตศาสตร์ระดับโรงเรียน (The roles of representation in school mathematics)
ว่า การสื่อสารและการนำ�เสนอต้องเป็นจุดเน้นที่สำ�คัญของการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ พร้อมทั้งนำ�เสนอ
แนวคิดต่างๆ เกี่ยวกับการเรียนการสอนการสื่อสารและการนำ�เสนอในคณิตศาสตร์ระดับโรงเรียน ที่เชื่อว่า
จะทำ�ให้การเรียนการสอนคณิตศาสตร์มีประสิทธิภาพดีขึ้น สิ่งนี้ส่งผลให้นักการศึกษาทั่วโลกหันมาสนใจ
ศึกษาการสื่อสารและการนำ�เสนอทางคณิตศาสตร์ในทุกระดับชั้นของหลักสูตรคณิตศาสตร์ ในบางการศึกษา
เหล่านั้นนักการศึกษาที่สำ�คัญหลายคนได้นำ�เสนอแง่คิดต่างๆ เกี่ยวกับความหมายของการสื่อสาร การสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำ�เสนอ อีกทั้งยังได้นำ�เสนอกิจกรรมที่ส่งเสริมการสื่อความหมายทาง
คณิตศาสตร์และการนำ�เสนอ

ความหมายของการส่ือสาร การส่อื ความหมายทางคณติ ศาสตรแ์ ละการนำ�เสนอ

       การสื่อสาร (communication) เป็นกระบวนการถ่ายทอดข่าวสารจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร โดย
นำ�เสนอผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ ได้แก่ การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การดู และการแสดง
ท่าทาง โดยอาจไม่ใช้สื่อ หรือใช้สื่อต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ วารสารหรือสิ่งตีพิมพ์ต่างๆ และ
อินเทอร์เน็ต

       การสือ่ สารทีผ่ า่ นชอ่ งทางการสือ่ สารดงั กลา่ วขา้ งตน้ จะมปี ระสทิ ธภิ าพ ถา้ การสือ่ สารนัน้ มจี ดุ มุง่ หมาย
เนื้อหาของข่าวสาร และรูปแบบของการสื่อสารที่ถูกต้องชัดเจน ตลอดจนผู้รับสารมีเจตนาที่จะรับข่าวสาร
และมีปฏิสัมพันธ์ (interaction) ซึ่งกันและกัน ซึ่งเนื้อหาของข่าวสารอาจเป็นความรู้ แนวคิด ความคิดเห็น
อารมณ์ ทศั นคติ ความเชือ่ หรอื กระบวนการกไ็ ด้ และควรสือ่ สารหรอื น�ำ เสนอเนือ้ หาเหลา่ นัน้ ผา่ นชอ่ งทางการ
สื่อสารที่เหมาะสมกับสถานการณ์ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของการสื่อสารนั้นๆ

       โดยทั่วไป ในการสื่อสารนั้นจะเป็นการง่ายสำ�หรับนักเรียนที่จะอยู่ในฐานะผู้รับสารมากกว่าที่จะอยู่
ในฐานะของผู้ส่งสาร และในภาวะปกติแล้วการรับสารด้วยการฟังและการดูจะง่ายกว่าการรับสารด้วยการ
อ่าน สำ�หรับนักเรียนไทยหลายคนการให้เป็นผู้ส่งสาร ไม่ว่าจะเป็นการพูด การเขียนหรือการแสดงท่าทาง ก็
จะเปน็ เรือ่ งทีย่ ากลำ�บากและทำ�ไมไ่ ดด้ ี ทัง้ นี้ เพราะไมไ่ ดม้ กี ารฝกึ และปฏบิ ตั กิ นั ทัง้ ในและนอกหอ้ งเรยี นอยา่ ง
เพียงพอโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวิชาคณิตศาสตร์ เราจึงมักพบว่ามีนักเรียนที่อ้างว่าคิดแก้ปัญหาได้ หาเหตุผล
ได้ แต่ไม่สามารถอธิบายหรือเขียนแสดงออกมาได้ ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของครูที่จะต้องช่วยกันคิดแก้ปัญหา
ด้านการสื่อสารนี้ต่อไปด้วย

       สำ�หรับ การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำ�เสนอ (representation) เป็นกระบวนการ
สื่อสารที่มีลักษณะพิเศษโดยมีการใช้สัญลักษณ์ ตัวแปร ตาราง กราฟ สมการ อสมการ ฟังก์ชัน และแบบ
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39