Page 55 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 55
กิจกรรมส่งเสริมทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 9-45
หลายทิศทาง หรือที่เรียกว่า ลักษณะการคิดอเนกนัย หรือการคิดแบบกระจาย (divergent thinking) ซึ่ง
องค์ประกอบที่สำ�คัญที่นำ�ไปสู่ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีดังนี้
1. ความคิดคล่อง (fluency)
2. ความคิดยืดหยุ่น (flexibility)
3. ความคิดริเริ่ม (originality)
4. ความคิดละเอียดลออ (elaboration)
1. ความคิดคล่อง หมายถึง ความสามารถในการคิดเพื่อให้ได้คำ�ตอบจำ�นวนมากที่แตกต่างกันหรือ
หลากหลายวธิ ี การคดิ ใหไ้ ดค้ �ำ ตอบจ�ำ นวนมากทีแ่ ตกตา่ งกนั หรอื วธิ ที ีห่ ลากหลายเปน็ ตวั บง่ บอกถงึ ความเขา้ ใจ
และความคล่องแคล่วของสมองของนักเรียนที่จะกลั่นเอาคำ�ตอบของปัญหาออกมา ซึ่งกิลฟอร์ดเชื่อว่า ผู้ที่มี
ความคิดคล่องมากจะมีโอกาสสร้างคำ�ตอบที่แปลกและเฉียบคมได้มากกว่าผู้ที่มีความคิดคล่องน้อยกว่า
ตวั อย่าง จงน�ำ จำ�นวนตัง้ แต่ 1 ถึง 20 ก่ีจำ�นวนกไ็ ด้และไมจ่ �ำ เป็นตอ้ งใช้ทุกจำ�นวน มาด�ำ เนินการบวก ลบ
คูณ หรือหารกันเพื่อให้ได้ผลลัพธ์เป็น 3990 อยากทราบว่า การดำ�เนินการใดบ้างที่ใช้จำ�นวนที่
แตกต่างกันทั้งหมดและมีการดำ�เนินการทั้งบวก ลบ คูณ และหาร
ในการแก้ปัญหานี้ นักเรียนต้องคิดวิเคราะห์ว่า มีจำ�นวนใดบ้างตั้งแต่ 1 ถึง 20 ที่นำ�มาดำ�เนินการ
บวก ลบ คูณ หรือหารกันแล้วได้ผลลัพธ์เป็น 3990 ซึ่งคำ�ตอบที่ได้มีมากกว่าหนึ่งคำ�ตอบ โดยนักเรียนอาจ
เริ่มต้นพิจารณาจากการแยกตัวประกอบของ 3990 ก็ได้ กล่าวคือ
3990 = 2 × 3 × 5 × 7 × 19
หลงั จากนัน้ จงึ พจิ ารณาวา่ จ�ำ นวนดงั กลา่ วนัน้ เกีย่ วขอ้ งกบั จ�ำ นวนอืน่ อยา่ งไร และจะมกี ารด�ำ เนนิ การ
อะไรบ้างที่สามารถนำ�มากระทำ�เพื่อให้ได้ผลลัพธ์เป็น 3990 เช่น
3990 = 2 × 3 × 5 × 7 × 19
= 2 × 3 × 5 × 7 × (20 — 1)
= 2 × 3 × 5 × 7 × (15 + 4)
= 2 × 3 × 5 × (8 — 1) × 19
= 2 × 3 × 5 × (5 + 2) × 19
= 2 × 3 × 5 × (14 ÷ 2) × 19
= 2 × 3 × [(18 × 2) — 1] × 19
= 2 × 3 × [(17 × 2) + 1] × 19
= 2 × 3 × (10 × 7 ÷ 2) × 19
= 2 × [(3 × 6) — 3] × 7 × 19
= 2 × [(3 × 4) + 3] × 7 × 19