Page 30 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 30
2-20 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เข้าหากันด้านใน ส่วนด้านที่มีหมู่ฟอสเฟตซึ่งชอบนํ้าอยู่ด้านนอกทั้งสองด้าน ฟอสโฟลิพิดพบมากในส่วน
สมองแ ละเส้นป ระสาท จำ�แนกอ อกเป็น 2 กลุ่ม คือ ฟอสโฟกลีเซอไรด์ และส ฟิงโกล ิพ ิด
1.3.1 ฟอสโฟกลเี ซอไรด์ (phosphoglyceride) เป็นอ นุพันธ์ของ กรดฟอสฟาต ิดิก (phospha-
tidic acid) กรดฟอสฟาติดิกประกอบด้วยส่วนที่มาจากกรดไขมัน 2 โมเลกุล ซึ่งมีจำ�นวนคาร์บอนเป็น
12-20 โมเลกุล เหมือนในไขม ันหรือน ํ้ามันทั่วไป จับอยู่กับค าร์บอนตำ�แหน่งที่ 1 และ 2 ของก ลีเซอรอลด้วย
พันธะเอสเทอร์ หมู่เอซิลท ี่ตำ�แหน่งที่ 1 มักจ ะอิ่มต ัว แต่ห มู่เอซิลที่ตำ�แหน่ง 2 จะเป็นป ระเภทไม่อ ิ่มตัว ส่วน
หมู่ไฮดรอกซิลหมู่ท ี่ 3 ของกลีเซอ รอ ลเกิดพ ันธะเอสเทอร์กับกรดฟ อสฟอ ริก 1 โมเลกุล และหมู่ไฮดรอกซ ิล
ของฟอสเฟตท ี่ไม่ได้เกิดพันธะกับหมู่ใดสามารถแ ตกตัวเป็นไอออนได้ ดังน ั้น กรดฟ อสฟาติกจ ึงมีทั้งส่วนท ี่
มีข ั้วท ี่เรียกว ่า ส่วนโพล าร์ และส ่วนท ี่ไม่มีข ั้วที่เรียกว่า ส่วนน ันโพลาร์ โมเลกุลข องกรดไขม ันทั้งสองในกรด
ฟอสฟาติด ิกมักจะต่างกัน
อนุพันธ์ฟอสฟาติดิกที่พบมากคือ อนุพันธ์ของโคลีน (choline) ซึ่งเรียกว่า เลซิทิน
(lecitin) อนุพันธ์ของเอทานออะลามีน (ethanolalamine) และอนุพันธ์ของซีรีน (serine) ที่เรียกว่า
เซฟาล ิน (cephalin)
1.3.2 สฟิงโกลิพิด (sphingolipid) ประกอบด้วยกรดไขมัน 1 โมเลกุล สฟิงโกซีน (sphin-
gosine) หรืออ นุพ ันธ์ข องส ฟิงโกซ ีน 1 โมเลกุล และโมเลกุลม ีข ั้วอ ีก 1 โมเลกุล ตัวอ ย่างส ฟิงโกล ิพ ิดท ี่ส ำ�คัญ
ได้แก่ สฟิงโกไมอีลิน (sphingomyelin) นอกจากนี้ยังมีเซเรโบรไซด์ (cerebroside) ซึ่งมีโมเลกุลที่มีขั้ว
เป็นมอโนแซ็กคาไรด์ แกงกลิโอไซด์ (ganglioside) ซึ่งมีโมเลกุลที่มีขั้วเป็นกรดไซอะลิก (sialic acid)
ทั้งเซเรโบรไซด์ และแกงกลิโอไซด์จัดว่าเป็นไกลโคลิพิด (glycolipid) ได้ เนื่องจากมีคาร์โบไฮเดรตเป็น
องค์ประกอบหนึ่งบนโมเลกุลของล ิพ ิด
สฟิงโกล ิพ ิดเป็นส ่วนป ระกอบข องเยื่อห ุ้มเซลล์ในพ ืชแ ละส ัตว์ ในม นุษย์จ ะพ บม ากในเนื้อเยื่อ
ของสมองและเส้นประสาท คือ สฟิงโกไมอีลิน ซึ่งทำ�หน้าที่เป็นองค์ประกอบหลักของสารที่เคลือบรอบๆ
เส้นใยประสาท (nerve fiber)
1.4 อนุพันธุ์ของสเตอรอยด์ สเตอรอยด์มีโครงสร้างหลักประกอบด้วยวงไฮโดรคาร์บอนชนิด
6 คาร์บอนอ ะตอม 3 วง และช นิด 5 คาร์บอนอ ะตอม 1 วง ดังภาพท ี่ 2.10 (ง)
โครงสร้างนี้ทำ�ให้สเตอรอยด์ไม่ละลายในนํ้า แต่ละลายได้ในไขมันและตัวทำ�ละลายที่ไม่มีขั้ว
สเตอ รอยด์แต่ละชนิดมีโครงสร้างหลักเหมือนกัน แต่แ ตกต่างก ันท ี่ต ำ�แหน่งและพันธะค ู่ของโมเลกุล รวมทั้ง
ตำ�แหน่ง จำ�นวน ของห มู่ต่างๆ ที่อ ยู่บ นโครงสร้างห ลัก
1.5 อนพุ นั ธข์ องเทอ รพ์ นี เทอ ร์พ ีนเป็นพ อล ิเมอ ร์ข องไอโซพ รีน (isoprene) ลิพ ิดท ี่เป็นอ นุพันธ์ข อง
เทอ ร์พีน ได้แก่ บีตาแ คโรทีน วิตามินเอ และไอโซไฟท อล (isophytol) ซึ่งเป็นส ่วนประกอบของคลอโรฟ ิลล์
เป็นต้น
วิตามินท ี่ล ะลายในไขม ัน (fat soluble vitamin) ได้แก่ วิตามินเอ วิตามินด ี วิตามินอ ี และว ิต ามิน เค
มีโครงสร้างเป็นลิพิด โดยบางชนิดเป็นอนุพันธ์ของสเตอรอล บางชนิดเป็นลิพิดประเภทอนุพันธ์ของ
เทอร์พีน