Page 25 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 25

กระบวนการ​ดำ�รงช​ ีวิต 2-15

2. กระบวนการส​ ลายค​ ารโ์ บไฮเดรต*

       เมื่ออ​ าหารเ​ข้าส​ ู่ร​ ่างกาย คาร์โบไฮเดรตใ​นอ​ าหาร เช่น แป้งใ​นพ​ ืช ไกลโคเจนใ​นส​ ัตว์ นํ้าตาลโ​มเลกุลค​ ู​่
จะ​ถูก​ย่อย​สลาย​โดย​เอนไซม์​ใน​ทาง​เดิน​อาหาร​เป็น​นํ้าตาล​โมเลกุล​เดี่ยว​โดย​เฉพาะ​นํ้าตาล​กลูโคส ซึ่ง​จะ​ถูก​
ย่อยส​ ลาย​ใน​เซลล์ข​ องต​ ับ​และเ​ซลล์อ​ ื่นท​ ำ�ให้​เกิด​พลังงาน การ​ย่อยค​ าร์โบไฮเดรต​เป็นก​ระบ​ วน​การท​ าง​เคมีท​ ี​่
ตอ้ งการเ​อนไซมช​์ นดิ ต​ า่ งๆ กระบวนการส​ ลายค​ ารโ์ บไฮเดรตใ​นเ​ซลลท​์ สี​่ ำ�คญั คอื กระบวนการส​ ลายไ​กลโคเจน​
เป็นก​ ลูโคส กระบวนการ​สลายก​ ลูโคส​เป็น​พลังงาน ซึ่ง​ได้แก่ กระบวนการไ​กลโ​ค​ลิซ​ ิ​สแ​ ละ​วัฏจักรเ​คร​ บส์ และ​
กระบวนการ​สลายเ​ป็นส​ าร​ตั้งต​ ้นใ​น​การส​ ร้างส​ าร​อื่น คือ วิถีเ​พน​โทสฟ​ อสเฟต

       2.1 	กระบวนการ​สลาย​ไกลโคเจน (Glycogenolysis) กระบวนการ​สลาย​ไกลโคเจน​ให้​เป็น​กลูโคส​
เกิดข​ ึ้นเ​นื่องจากไ​กลโคเจนท​ ี่ป​ ระกอบด​ ้วยก​ ลูโคสต​ ่อก​ ันถ​ ูกแ​ ยกด​ ้วยก​ รดฟ​ อสฟอ​ ริก​ โดยใ​ช้เ​อนไ​ซม์ฟอสโฟ-​​
ริเลส (phosphorylase) ได้ก​ ลูโคสว​ ัน​ฟอสเฟต (G-1-P) ออก​มาค​ รั้ง​ละ​โมเลกุล แล้ว​กลูโคสว​ ัน​ฟอสเฟต จะ​
เปลีย่ นเ​ปน็ กลโู คสซ​ กิ ซ​ ฟ​์ อสเฟต (G-6-P) กอ่ น แลว้ ก​ ลโู คสซ​ กิ ซ​ ฟ​์ อสเฟตส​ ลายเ​ปน็ ก​ ลโู คสโ​ดยเ​อนไซมก​์ ลโู คส-​
ซ​ ิกซ​ ์ฟอสฟาเทส (glucose-6-phosphatase) ที่ม​ ีอ​ ยู่ใ​นต​ ับแ​ ละไ​ต กลูโคสอ​ ิสระจ​ ึงผ​ ่านอ​ อกจ​ ากเ​ซลล์ต​ ับแ​ ละ​
ไต​เพื่อ​รักษา​ระดับก​ ลูโคสใ​นโ​ลหิตไ​ม่ใ​ห้​ตํ่า​เกิน​ไป

       2.2 	กระบวนการไ​ กลโ​คล​ ซ​ิ สิ (Glycolysis) เ​ป็นกร​ ะบ​ วนก​ ารส​ ลายก​ ลูโคสใ​หเ้​ป็นไ​พร​ เู​วต (pyruvate)​
และ​อะ​เซทิล​โค​เอ จะ​เกิด​ปฏิกิริยา​โดย​การ​เติม​ด้วย​เอน​ไซม์​เฮก​โซ​ไค​เนส (hexokinase) ได้​กลูโคส​ซิก​ซ์​
ฟอสเฟต ซึ่ง​จะ​เปลี่ยน​เป็นก​ลี​เซ​อรอล​ดี​ไฮด์​ทรี​ฟอสเฟต (glycerol dehyde-3-phosphate) โดย​ใช้ ATP
2 โมเลกุล กลี​เซ​อรอล​ดี​ไฮด์​ทรี​ฟอสเฟต​เปลี่ยน​เป็นก​รด​ไพรู​วิก​หรือ​ไพ​รู​เวต แล้ว​ให้​เอ็น​เอ​ดีเอช (NADH)
1 โมเลกุล และ ATP 2 โมเลกุล ไพ​รู​เวต​ที่​เกิด​ขึ้น​จะ​เปลี่ยน​เป็น​อะ​เซทิล​โค​เอ (acetyl CoA) ใน​กรณี​ที่​มี​
ออกซิเจนจ​ ะไ​ด้ NADH 1 โมเลกุล และค​ าร์บอนไดออกไซด์ อะ​เซทิลโ​คเ​อ แ​ ละ NADH ที่​เกิดข​ ึ้น​จะ​สลาย​
ตัวต​ ่อไ​ปใ​น​ไม​โท​คอน​เดร​ ีย

       ใน​กรณี​ที่​ขาด​ออกซิเจน ไพ​รู​เว​ตจะ​เปลี่ยน​เป็นก​รด​แลก​ติก​หรือ​แลก​เตต (lactate) หรือเอ​ทา​นอล
(ethanol) แล้ว​แต่ช​ นิดข​ อง​เซลล์​ซึ่งม​ ีก​ าร​ใช้ NADH 1 โมเลกุล

       2.3 	วัฏจักรเ​คร​ บส์  เป็น​วงจร​การ​เปลี่ยนแปลง​สารประกอบ​จาก​สารประกอบ​ที่​มี​คาร์บอน​หลาย​ตัว​
​ให้​กลาย​เป็น​พลังงาน​ใน​รูป​ของ ATP และ​คาร์บอนไดออกไซด์ ผู้​เสนอ​วัฏจักร​นี้​คือ เค​รบส์ (Krebs) โดย​
กลูโคส 1 โมเลกุล จะ​ให้ ATP 38 โมเลกุล โดย ATP ที่ไ​ด้จ​ าก​กระบวนการ​ไกล​โค​ลิ​ซิส​ เ​ป็น​จำ�นวน 14 โมเลกุล
และ​ได้จ​ าก​วัฏจักรเ​ค​รบส์เ​ป็น​จำ�นวน 24 โมเลกุล โดยม​ ีข​ ั้น​ตอนร​ ายล​ ะเอียด​ในเ​รื่อง​ที่2.2.3 (การ​หายใจร​ ะดับ​
เซลล์)

       2.4 วิถี​เพน​โทส​ฟอสเฟต (Pentose Phosphate Pathway; PPP หรือ Hexose Monophosphate
Shunt หรือ Phosphogluconate Pathway) กระบวนการ​นี้​มี​เป้า​หมาย​เพื่อ​ที่​จะ​ผลิต​ตัว​พา​อิเล็กตรอน​ที่​
เรียก​ว่า เอ็น​เอดี​พี​เอช (NADPH) และ​นํ้าตาล​ที่​มี​คาร์บอน 5 อะตอม ซึ่ง​เป็น​สาร​สำ�คัญ​ใน​การ​สร้าง​กรด​

         * รวบรวมแ​ ละเ​รียบเ​รียงจ​ าก  ศรศิ​ ักดิ์ สุนทรไ​ชย (2548) “กระบวนการสลายและสร้างสารในสิ่งมีชีวิต” ใน เอกสารการสอน
ชุดวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน หน่วยที่ 14 หน้า 153-196 นนทบุรี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30