Page 27 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 27
กระบวนการดำ�รงชีวิต 2-17
เรือ่ งท ่ี 2.1.2 ลพิ ิด
ลิพิดเป็นสารชีวโมเลกุลที่เป็นแหล่งพลังงานที่สำ�คัญของสิ่งมีชีวิตอีกแหล่งหนึ่ง มีโครงสร้างหลาก
หลาย แต่มีลักษณะร่วมกันอย่างหนึ่ง คือ ความไม่ชอบนํ้า (hydrophobicity) ไม่ละลายนํ้าหรือละลายได้
เพียงเล็กน้อย ละลายได้ด ีในตัวท ำ�ล ะลายท ี่เป็นส ารอินทรีย์ (organic solvents) เช่น คลอโรฟอร์ม เบนซ ีน
อีเทอร์ เป็นต้น กรดไขมันเป็นอ งค์ป ระกอบสำ�คัญในลิพ ิดประเภทไขม ันแ ละน ํ้ามัน ไข และฟอสโฟล ิพิด เมื่อ
มกี ารส ลาย ลพิ ดิ เหล่าน ีจ้ ะไดผ้ ลผลติ ส ่วนห นึ่งเป็นกร ดไขม ันอ สิ ระ ซึ่งเซลลส์ ามารถน ำ�ม าใชเ้ ป็นแ หล่งพ ลังงาน
ได้น อกเหนือจากแ หล่งพลังงานค าร์โบไฮเดรต
1. ชนดิ ของลิพิด*
ไขม ัน (fat) และน ํ้ามัน (oil) เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาระหว่างก ลีเซอรอล (glycerol) 1 โมเลกุล กับ กรด
ไขม ัน (fatty acid) 1-3 โมเลกุล ไขม ันจ ะเป็นข องแข็งท ี่อุณหภูมิห้อง ส่วนใหญ่จ ะเป็นไขม ันจากสัตว์ แต่นํ้า
มันจะเป็นข องเหลวที่อุณหภูมิห้อง ซึ่งมักได้จ ากพ ืช ส่วนไข (waxs) เป็นข องแข็ง เกิดจ ากกรดไขม ันและอ ัล
กอฮอล์ท ี่มีโซ่ยาว
1.1 ไขมันและนํ้ามัน ในการจำ�แนกไขมันและนํ้ามันจะพิจารณาจากส่วนที่เกิดกรดไขมัน ถ้ามี
กรดไขมัน 1 โมเลกุล จัดเป็นมอโนเอซิลก ลีเซอรอล (monoacylglycerol) ถ้ามีก รดไขมัน 2 โมเลกุล จัดเป็น
ไดเอซ ิลกลีเซอ รอล (diacylglycerol) แต่ถ้าม ีก รดไขม ัน 3 โมเลกุล จัดเป็นไตรเอซิลก ลีเซอรอล (triacylgly-
cerol) หรอื ไตรกลเี ซอไรด์ (triglyceride) ซึง่ ห ากก รดไขม นั ท ัง้ 3 โมเลกุล เหมือนก ันจ ะเรียกว ่า ไตรกลเี ซอไรด์
อย่างง ่าย (simple triglyceride) แต่ถ ้ากรดไขมัน 2 หรือ 3 โมเลกุลแ ตกต่างก ัน ก็จะเรียกว่าไตรกลีเซอไรด์
ผสม (mix triglyceride) ไขม ันและน ํ้ามันท ี่พ บในธรรมชาติจะเป็นไตรกลีเซอไรด์ผ สมส ่วนใหญ่
การเรียกช ื่อไตรกลีเซอไรด์อย่างง่าย เรียก คำ�ว ่า ไตร นำ�ห น้า แล้วเรียกชื่อกรดไขม ันต ้นกำ�เนิด แต่
เปลี่ยนค ำ�ล งท้ายจาก –อิก แอซ ิด (-ic acid) เป็นอิน (-in)
1.1.1 กรดไขม นั กรดไขม ันม สี ่วนข องโมเลกุลเป็นไฮโดรคาร์บอนท ีม่ โีครงสร้างเป็นส ายโซย่ าว
โดยปลายด้านหนึ่งเป็นหมู่เมทิล (methyl group: -CH3) และอีกด้านหนึ่งเป็นหมู่คาร์บอกซิล (carboxyl
group: -COOH) เขียนเป็นโครงส ร้างทั่วๆ ไปได้ดังนี้ CH3-(CH2)n-COOH
กรดไขมันมีจำ�นวนคาร์บอนอะตอมในโมเลกุลระหว่าง 4-24 อะตอม การนับหมายเลขของ
คาร์บอนในโมเลกุลของกรดไขมันเริ่มต้นจากคาร์บอนของหมู่คาร์บอกซิล พันธะที่ต่อระหว่างอะตอมของ
คาร์บอนม ที ั้งท ีเ่ป็นพ ันธะเดี่ยว (single bond) และพ ันธะค ู่ (double bond) กรดไขม ันท ีม่ เีฉพาะพ ันธะเดี่ยว
* รวบรวมแ ละเรียบเรียงจ าก จ�ำ รสั พรอ้ มม าศ (2548) “ชีวโมเลกลุ ” ใน เอกสารการสอนชดุ วิชาวทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน หน่วยที่
13 หน้า 85-152 นนทบุรี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช