Page 31 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 31
กระบวนการดำ�รงชีวิต 2-21
ภาพที่ 2.10 โครงสร้างข องล พิ ดิ ท ่สี ำ�คัญ (ก) ฟอสโฟล ิพดิ (ฟอสฟาทิดิลโคลนี ) (ข) ไตรเอซ ิลก ลีเซอรอล
(ไตรกลเี ซอไรด์) (ค) เทอ ร์พ ีน (ซโิ ตรเนลลอล) และ (ง) สเตอรอยด์ (คอเลสเตอรอล)
2. กระบวนการส ลายลิพดิ *
ในกระบวนการสลายลิพิดจะได้โมเลกุลกรดไขมันและกลีเซอรอล ตัวอย่างของกระบวนการสลาย
ลิพิด ได้แก่ การย่อยไขมันโดยเอนไซม์ล ิเพส (lipase) ซึ่งภายหลังจากการย ่อยแล้วจะได้โมเลกุลกรดไขม ัน
และกลีเซอรอล และไขมันหรือนํ้ามันเมื่อถูกความชื้นจะเกิดการสลายตัวช้าๆ ทำ�ให้ได้เป็นกรดไขมันอิสระ
ซึ่งกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัวเมื่อสัมผัสอออกซิเจนในอากาศจะเกิดเพอร์ออกไซด์ (peroxide) ที่สลายตัวต่อ
ไปเป็นแฟตตีอัลดีไฮด์ และกรดไขมันที่มีหมู่ไฮดรอกซิล (hydroxy fatty acid) หลายชนิด ผลิตผลจาก
ปฏิกิริยาอ อกซิเดชันเหล่านี้จ ะมีก ลิ่นเหม็นแ ละรสไม่ด ี ซึ่งเป็นส าเหตุข องการเหม็นหืน (rancidity) ในไขมัน
และนํ้ามัน การอ อกซิเดชันจะเกิดได้เร็วม ากขึ้นหากไขม ันและน ํ้ามันน ั้นถูกแ สง ไขม ันและนํ้ามันท ี่มีพันธะค ู่
อยู่ม ากจ ะถ ูกออกซ ิไดซ์ได้ง่ายม าก
กระบวนการห ลกั ในก ารส ลายก รดไขม นั ป ระกอบด ว้ ย วถิ บี ตี าอ อกซเิ ดชนั และว ถิ แี อลฟาอ อกซเิ ดชนั
วิถีโอเมกาออกซิเดชัน
2.1 วถิ บี ตี าอ อกซเิ ดชนั (β-oxidation) การส ลายก รดไขม ันในว ิถบี ีตาอ อกซิเดชันเป็นการส ลายพ ันธะ
ระหว่างคาร์บอนตำ�แหน่งที่ 2 ซึ่งค ือตำ�แหน่งแอลฟา (α) และค าร์บอนตำ�แหน่งที่ 3 ซึ่งคือ ตำ�แหน่งบีตา (β)
ของก รดไขม ันเพือ่ เปลี่ยนก รดไขม นั ข นาดใหญใ่ หเ้ปน็ ข นาดเล็กโดยก ารต ดั ค าร์บอนท ีต่ ่อก ับค ารบ์ อนต �ำ แหนง่
* รวบรวมแ ละเรียบเรียงจ าก ศริศ ักดิ์ สุนทรไชย (2548) “กระบวนการสลายและสร้างสารในสิ่งมีชีวิต” ใน เอกสารการสอน
ชุดวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน หน่วยที่ 14 หน้า 153-196 นนทบุรี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช