Page 29 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 29
กระบวนการด ำ�รงช ีวิต 2-19
กรดไขมันโอเมกาทรี (omega-3 fatty acid) เป็นกล ุ่มของก รดไขมันชนิดที่ไม่อ ิ่มตัวส ูง เป็น
หนึ่งในกรดไขมันจำ�เป็น (essential fatty acid) ที่ร่างกายมนุษย์สร้างขึ้นเองไม่ได้ และเป็นกรดไขมันที่
มนุษย์ขาดไม่ได้ ซึ่งสูตรโครงสร้างโมเลกุลมีพันธะคู่ไม่น้อยกว่า 3 ตำ�แหน่ง โดยพันธะคู่แรกอยู่ที่ตำ�แหน่ง
ของค าร์บอนต ัวท ี่ 3 นับจ ากป ลายโมเลกุลด ้านท ีม่ หี มูเ่มทิลเข้าไป ส่วนพ ันธะค ูต่ ่อไปอ ยูต่ รงต ำ�แหน่งค าร์บอน
ถัดไปครั้งละ 3 ตำ�แหน่ง สารสำ�คัญในกรดไขมันโอเมกาทรีมี 2 ชนิด คือ กรดไอโคซาเพนทาอีโนอิกหรือ
อ ีพีเอ (eicosapentaenoic acid, EPA) และกรดโดโคซาเฮกซ าอีโนอ ิกหรือด ีเอชเอ (docosahexaenoic
acid, DHA)
กรดไขมันโอเมกาทรีมีบทบาทสำ�คัญต่อโครงสร้างและการทำ�งานของสมอง ตับ และระบบ
ประสาทเกี่ยวกับการพัฒนาการเรียนรู้ รวมทั้งเกี่ยวกับเรตินาในการมองเห็น นอกจากนี้ยังมีบทบาทสำ�คัญ
อย่างมากต่อโภชนาการและสุขภาพของมนุษย์ เช่น ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอล และไตรเอทิลกลีเซอรอล
(triethylglycerol) ในพลาสมา ควบคุมระดับลิโพโปรตีน (lipoprotien) และมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
องคป์ ระกอบแ ละห น้าทีข่ องเกล็ดเลือด จึงม แี นวโน้มก ่อใหเ้กิดผ ลด ใีนก ารล ดอ ันตรายข องโรคท างเดินห ายใจ
โรคไขม นั ในเสน้ โลหติ โรคห ัวใจ และโรคซ มึ เศร้า กรดไขม นั โอเมก าท รพี บม ากในป ลาท ะเล และป ลาน ํา้ จ ืดบ าง
ชนิด นอกจากน ี้ก รดไขม ันโอเมก าท รีย ังพ บในน ํ้ามันพ ืช* ที่ได้จ ากเมล็ดค าโนล า และน ํ้ามันถ ั่วเหลือง เป็นต้น
1.1.2 กลีเซอรอล ประกอบด้วยก รดไขม ันก ับพอล ิอัลกอฮอล์ โดยห มู่ไฮดรอกซ ิล (hydroxyl
group: -OH) ทั้ง 3 ของกลีเซอรอลสามารถท ำ�ป ฏิกิริยากับกรดไขม ันได้ 1-3 โมเลกุล ทำ�ให้ได้ผลผลิตเป็น
มอโนเอซิลกลีเซอ รอล ไดเอซ ิลกลีเซอ รอล และไตรเอซิลกลีเซอรอล หรือไตรกลีเซอไรด์
1.2 ไข เป็นลิพ ิดที่เกิดจากกรดไขมันและอัลกอฮอล์ที่มีโซ่ย าว ส่วนที่มาจ ากกรดไขมันจะม ีจ ำ�นวน
คาร์บอนเป็นเลขคู่ มีขนาดระหว่าง 16-36 อะตอม สำ�หรับส่วนที่มาจากอัลกอฮอล์ก็จะมีจำ�นวนคาร์บอน
เป็นเลขคู่เช่นกัน แต่มีขนาดระหว่าง 24-36 อะตอม พบทั้งในพืชและสัตว์ เป็นของแข็งและไม่ละลายนํ้า
พบเป็นสารเคลือบเส้นผม ขนนก และขนสัตว์ต่างๆ ทำ�ให้มีลักษณะเป็นเงาและเพื่อป้องกันการสูญเสียนํ้า
ไขย ังข ับจากห ูท ี่เรียกว ่า ขี้ห ู (earwax) เพื่อป้องกันก ารกร ะท บกระเทือนของเยื่อหู นอกจากนี้ยังพบว ่า ถูกขับ
ออกจ ากต ่อมไขม ันใต้ผ ิวหนังเพื่อป ้องกันก ารร ะเหยข องน ํ้า ทำ�ให้ผ ิวหนังม ีค วามช ุ่มช ื้นอ ยู่ได้ ในพ ืชม ักจ ะพ บ
ไขเป็นสารเคลือบผิวข องใบไม้ เปลือกไม้ เพื่อป ้องกันการส ูญเสียน ํ้า
ตัวอย่างของไขที่เกิดขึ้นในธรรมชาติได้แก่ ไมริซิลพาล์มิเทต (miricyl palmitate) ซึ่งพบในขี้ผึ้ง
(beeswax) ซึ่งเกิดข ึ้นจ ากไมร ซิ ิลอัลก อฮ อล์ (miricyl alcohol) และก รดพ าลม์ ติ ิก หรือซ ิทิลพ าลม์ เิทต (cetyl
palmitate) ซึ่งพ บในไขปลาวาฬ ซึ่งเกิดขึ้นจากซ ิทิลอัลก อฮ อล์ (cetyl alcohol) และก รดพาล์มิต ิก เป็นต้น
1.3 ฟอสโฟลิพิด (phospholipid) เกิดจากอัลกอฮอล์กับกรดฟอสฟอริก และเป็นลิพิดที่ประกอบ
ด้วยหมู่ฟอสเฟต ฟอสโฟลิพิดเป็นโมเลกุลที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของเยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane)
โดยฟ อสโฟลิพิดจ ะจ ัดตัวเป็นแผ่นเยื่อลิพ ิดส องช ั้น (lipid bilayer) โดยหันด้านที่ม ีก รดไขม ันซ ึ่งไม่ช อบน ํ้า
* “โครงการเผยแ พรค่ วามร ูแ้ ละบ ทความท างว ิชาการผ ่านส ื่อห นังสือพิมพ์” คณะอ ุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เดลินิวส์ วันอาทิตย์ที่ 12 กันยายน 2553 หน้า 11