Page 32 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 32
2-22 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
บีตา และค าร์บอนท ี่ต ำ�แหน่งบีตาจะถ ูกออกซ ิไดซ์ให้เป็นกร ด วิถีน ี้ป ระกอบด้วยปฏิกิริยา 4 ขั้นต อน ได้แก่
ปฏิกิริยาขจัดไฮโดรเจน (dehydrogenation) ปฏิกิริยาก ารเติมน ํ้า (hydration) ปฏิกิริยาการข จัดไฮโดรเจน
อีกค รั้ง และป ฏิกิริยาก ารตัดพันธะไทโอเอสเทอ ร์ (thiolytic cleavage)
2.2 วิถีแอลฟาออกซิเดชัน (α-oxydation) การสลายกรดไขมันในวิถีแอลฟาออกซิเดชันเป็น
การส ลายก รดไขม ันท ีค่ าร์บอนต �ำ แหน่งบ ีตาท ีม่ หี มูเ่มทิลซ ึ่งไมส่ ามารถถ ูกอ อกซ ไิดซไ์ดโ้ดยว ิถบี ีตาอ อกซิเดชัน
แบบธรรมดาได้ เช่น ไฟทอล (phytol) ในพืชจะเปลี่ยนเป็นกรดไฟทานิก (phytanic acid) ในร่างกาย
เป็นต้น หมู่เมทิลที่ค าร์บอนต ำ�แหน่งบีตาข ัดข วางการท ำ�งานของเอนไซม์ในว ิถีบีตาอ อกซิเดชัน จึงต้องสลาย
ที่ต ำ�แหน่งแ อลฟาแ ทน จึงเรียกว ่าว ิถีแ อลฟาอ อกซิเดชัน คนที่ม ีค วามผิดปกติท างพันธุกรรมท ี่ขาดเอนไซม์ท ี่
ใช้ทำ�ป ฏิกิริยาในว ิถีนี้จะเกิดก ารส ะสมของก รดไขม ันชนิดน ี้ในโลหิตและเนื้อเยื่อของร่างกาย ทำ�ให้เกิดค วาม
ผิดปกติข องก ารท ำ�งานข องเนื้อเยื่อของอวัยวะในร่างกายได้
2.3 วิถีโอเมกาออกซิเดชัน การสลายกรดไขมันในวิถีโอเมกาออกซิเดชันเป็นการสลายกรดไขมัน
โดยเปลี่ยนหมู่เมทิลที่คาร์บอนตำ�แหน่งโอเมกา คือ คาร์บอนตำ�แหน่งสุดท้ายของกรดไขมันให้กลายเป็น
หมู่คาร์บอกซิล (-COOH) ทำ�ให้กรดไขมันนั้นเป็นกรดไดคาร์บอกซิลิก (dicarboxylic acid) วิถีโอเมกา
ออกซิเดชันมักเกิดในร่างกายขณะที่มีคีโทนบอดีสูง เพราะวิถีนี้กรดไขมันไม่สลายเป็นอะเซทิลโคเอซึ่งเป็น
สารต ั้งต ้นในก ารส ังเคราะหค์ โีทนบอด โีดยตรง แตเ่มื่อร ่างกายต ้องก าร อะเซทิลโคเอม าก กรดไดค ารบ์ อกซ ลิ ิก
จะถูกส ลายตามว ิถีบีตาออกซิเดชัน โดยก ารตัดอะตอมคาร์บอนจ ากป ลายทั้งสองข้างของก รดไขม ัน เป็นการ
เพิ่มความเร็วในก ารสลายกรดไขม ัน
หลังจ ากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องท ี่ 2.1.2 แล้ว โปรดปฏิบัติก ิจกรรม 2.1.2
ในแนวก ารศึกษาหน่วยท ี่ 2 ตอนที่ 2.1 เรื่องที่ 2.1.2
เรือ่ งที่ 2.1.3 โปรตนี
โปรตีนเป็นโครงสร้างหลักของร่างกายมนุษย์โดยเป็นกล้ามเนื้อหรือเอ็น หรือเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
ชีวภาพ โปรตีนม สี ่วนป ระกอบพ ื้นฐ าน คือ กรดอ ะม โิน โปรตีนม กี ารโค้งง อม ้วนแ ละพ ับเข้าหาก ันท ำ�ใหม้ รี ูปร ่าง
3 มิติ ดังน ั้น การแสดงโครงสร้างข องโปรตีนจ ึงแ สดงใน 4 ระดับ คือ โครงสร้างปฐมภ ูมิ โครงสร้างท ุติยภ ูมิ
โครงสร้างต ติยภ ูมิ และโครงสร้างจ ตุรภูมิ โปรตีนถ ูกย ่อยได้เป็นก รดอ ะม ิโนซ ึ่งถ ูกด ูดซ ึมแ ละน ำ�ไปส ังเคราะห์
เปน็ โปรตนี ข องอ วยั วะห รอื เนือ้ เยือ่ กระบวนการส ลายโปรตนี ท สี่ �ำ คญั คอื กระบวนการเปลีย่ นแ ปล งห มอู่ ะม โิ น
ของกรดอ ะม ิโน และกระบวนการสลายโครงสร้างค าร์บอนของ กร ดอ ะม ิโน