Page 74 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 74

2-64 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

เรื่องท​ ี่ 2.2.3 การ​หายใจร​ ะดบั เ​ซลล*์

       การ​หายใจ​ระดับ​เซลล์​เป็นก​ระ​บวน​การ​ที่​สิ่ง​มี​ชีวิต​ย่อย​สลาย​สาร​อาหาร​ที่​เก็บ​ไว้​เพื่อ​ให้​ได้​พลังงาน​
ออกม​ า​ใช้ใ​นก​ ระบวนการ​ต่างๆ ของก​ ารด​ ำ�รงช​ ีวิต เช่น การส​ ร้าง​สารโ​ม​เลกุ​ล​ใหม่ๆ การ​เคลื่อนไหว เป็นต้น
การ​หายใจ​ระดับ​เซลล์​เป็นก​ระ​บวน​การ​ทาง​เคมี​ที่​ซับ​ซ้อน​แต่​มี​ความ​แม่นยำ� และ​มี​ความ​เป็น​ระบบ​ที่​ดี ทั้งนี้
พลังงานท​ ี่ป​ ลดป​ ล่อยอ​ อกม​ าจ​ ากก​ ารห​ ายใจร​ ะดับเ​ซลล์ไ​ม่ไ​ด้ส​ ูญเ​สียไ​ปโ​ดยเ​ปล่าป​ ระโยชน์ แต่จ​ ะถ​ ูกส​ ะสมไ​ว​้
ในร​ ูป​ของพ​ ลังงาน​เคมี เช่น ATP, NADH และ NADPH นอกจากน​ ี้แ​ ล้ว​พลังงาน​ที่ป​ ลด​ปล่อย​ออก​มาไ​ม่ไ​ด​้
เกิด​ขึ้นค​ รั้ง​เดียว แต่จ​ ะ​ค่อยๆ ปลด​ปล่อย​ออก​มาท​ ีล​ ะน​ ้อย​จากป​ ฏิกิริยา​ต่างๆ หลายข​ ั้นต​ อน

       การ​หายใจ​ระดับ​เซลล์​แบ่ง​ออก​เป็น​ส่วน​สำ�คัญ​ที่​แตก​ต่าง​กัน 3 ส่วน ส่วน​แรก​เรียก​ว่า ไกล​โค​ลิ​ซิส
ซึ่งเ​กี่ยวก​ ับ​การท​ ี่เ​ซลล์​ย่อย​นํ้าตาลก​ ลูโคส​ให้เ​ป็นกร​ ดไ​พรู​วิก ปฏิกิริยา​ต่างๆ ในส​ ่วนน​ ี้​จะ​เกิด​ขึ้นภ​ ายในไ​ซ​โท-​
พลา​ซึม ซึ่งห​ ลัง​จาก​นี้​แล้วก​รด​ไพรูว​ ิกจะ​เปลี่ยนเ​ป็นส​ าร​ชนิดใ​ด ขึ้นก​ ับ​สภาพ​ของ​เซลล์ว​ ่าม​ ีอ​ อกซิเจนห​ รือ​ไม่
ถ้า​ไม่มี​ออกซิเจนก​ รด​ไพรูว​ ิกจะเ​ปลี่ยนเ​ป็นอ​ ัลก​ อ​ฮอล์ ถ้า​มีอ​ อกซิเจน​กรด​ไพรูว​ ิกจะเ​ปลี่ยน​เป็นอ​ ะ​เซทิลโ​คเ​อ
และจ​ ะเ​ข้า​สู่​ส่วนท​ ี่ส​ อง​ของก​ ารห​ ายใจ​ระดับ​เซลล์ท​ ี่​เรียกว​ ่า วัฏจักรเ​คร​ บส์ ต่อไ​ป ปฏิกิริยา​ต่างๆ ของส​ ่วน​นี้​จะ​
อยู่ใ​นไ​ม​โทค​ อน​เด​รีย และจ​ ะ​เกี่ยวข้องก​ ับก​ ารส​ ร้างส​ ารต​ ัวกลางป​ ระเภท​กรด​อินทรีย์​ขึ้นม​ า​หลาย​ชนิด รวม​ทั้ง
ATP, NADH  และ FADH2 หลังจ​ ากน​ ั้นก​ ็จ​ ะเ​ข้าส​ ู่ส​ ่วนท​ ี่ 3 โดยที่อ​ ิเล็กตรอนจ​ ะถ​ ูกถ​ ่ายทอดจ​ าก NADH และ
FADH2 ไปย​ ังโ​มเลกุล​ของ​ออกซิเจน​พร้อมก​ ับก​ ารส​ ร้าง ATP และ​นํ้าซ​ ึ่ง​ขั้น​ตอนท​ ี่ส​ าม​นี้​เรียก​อีกอ​ ย่าง​หนึ่งว​ ่า​
ระบบไ​ซโ​ทโ​ครม (cytochrome system)

1. 	ไกล​โค​ลซ​ิ ิส

       1.1 	ปฏิกิริยา​ทาง​เคมี การ​ย่อย​หรือ​ออก​ซิ​ไดซ์​นํ้าตาล​เพื่อ​ให้​ได้​กรด​ไพรู​วิก​มี​ขั้น​ตอน​ต่างๆ เหมือน​
กับข​ ั้น​ตอนข​ อง​การย​ ่อยไ​กลโคเจน

       กระบวนการไ​กลโ​คล​ ซิ​ ิส (ภาพท​ ี่ 2.22) เริ่มต​ ้นจ​ ากก​ ารท​ ีแ่​ ป้งห​ รือน​ ํ้าตาลก​ ลูโคสเ​ปลี่ยนไ​ปเ​ป็นก​ ลูโคส
6-ฟอสเฟต โดย​อาศัย​กิจกรรม​ของ​เอนไซม์​หลาย​ชนิด และ ATP จาก​นั้น​กลูโคส 6-ฟอสเฟต จะ​เปลี่ยน​
เ​ป็นฟ​ รักโทส 6-ฟอสเฟต และ​สาร​ดัง​กล่าวน​ ี้​จะ​ถูกเ​ปลี่ยน​ต่อไ​ปเ​ป็น ฟรักโทส 1, 6-ไดฟอสเฟต ซึ่งข​ ั้น​ตอน​นี​้
ต้อง​ใช้ ATP และ​มี​เอนไซม์ฟอสโฟฟ​รัก​โท​ไค​เนส (phosphofructokinase) เป็น​ตัว​เร่ง​ที่​มี​ความ​สำ�คัญ​ใน​
การ​ควบคุม​ความเร็วข​ องป​ ฏิกิริยา​การอ​ อกซ​ ิไ​ดซ์​กลูโคสไ​ป​เป็นกร​ ดไ​พรูว​ ิก

         * รวบรวมและเรยี บเรยี งจาก สมั พนั ธ์ คมั ภร​ิ าน​ นท์ (2537) “เมแทบอลซิ มึ ของการสงั เคราะหแ์ สงและการหายใจ” ใน ประมวล
สาระชุดวิชาพฤกษศาสตร์ขั้นสูงสำ�หรับครู หน่วยที่ 4 หน้า 1-66 นนทบุรี สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79