Page 72 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 72

2-62 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

เหงือกจ​ งึ ม​ คี​ วามด​ ันต​ ํ่าก​ วา่ เ​มือ่ โ​ลหติ ไ​หลอ​ อกจ​ ากห​ ัวใจเ​ขา้ ส​ ูเ​่ หงือก ทำ�ใหก​้ ารล​ �ำ เลียงอ​ อกซเิ จนไ​ปต​ ามเ​นื้อเยื่อ​
ของ​ปลา​มี​ประสิทธิภาพ​ตํ่าก​ ว่า​ที่​ควร

                3)	 ระบบ​ไหลเวียน​โลหิต​ใน​สัตว์​สะเทิน​น้ํา​สะเทิน​บก​และ​สัตว์​เล้ือย​คลาน ระบบ​ไหล
เวียน​โลหิต​ของ​สัตว์​ทั้ง 2 พวก​นี้​คล้าย​กัน​มาก คือ โลหิต​ออก​จาก​หัวใจ​จะ​ถูก​นำ�​ไป​แลก​เปลี่ยน​แก๊ส​ที่​ปอด
โลหิตท​ ีม่​ อี​ อกซิเจนส​ ูงจ​ ากป​ อดจ​ ะไ​หลก​ ลับม​ าผ​ ่านห​ ัวใจเ​พื่อส​ ูบฉ​ ีดอ​ อกไ​ปท​ ั่วร​ ่างกายผ​ ่านร​ ะบบเ​ส้นโ​ลหิตฝ​ อย
แล้ว​โลหิตจ​ ะ​ย้อนก​ ลับเ​ข้าม​ าส​ ู่ห​ ัวใจอ​ ีกค​ รั้งห​ นึ่งเ​ป็นการ​ครบว​ งจรปิด

                หัวใจ​ของ​สัตว์​สะเทิน​นํ้า​สะเทิน​บก เช่น กบ และ​สัตว์​เลื้อย​คลาน (ยกเว้น​จระเข้) เช่น
จิ้งจก และต​ ุ๊กแก ยังไ​ม่แ​ บ่งอ​ อกเ​ป็น 2 ส่วนอ​ ย่างช​ ัดเจน หัวใจข​ องพ​ วกก​ บป​ ระกอบด​ ้วยห​ ้องบ​ น 2 ห้อง แต่ม​ ​ี
ห้องล​ ่างเ​พียงห​ ้องเ​ดียว ดังน​ ั้น เมื่อห​ ัวใจเ​ต้นเ​ป็นจ​ ังหวะข​ ณะบ​ ีบต​ ัว โลหิตจ​ ะอ​ อกไ​ปส​ ู่ป​ อด และอ​ อกไ​ปส​ ู่ส​ ่วน​
อื่นๆ ของ​ร่างกาย ในข​ ณะเ​ดียวกัน เมื่อ​หัวใจ​ขยายห​ รือค​ ลายอ​ อกโ​ลหิตจ​ ากป​ อด​และ​ร่างกาย​จะไ​หลก​ ลับเ​ข้า​
สู่ห​ ัวใจ ทิศทาง​การ​ไหล​ของโ​ลหิต​แบบ​ดัง​กล่าวน​ ี้ม​ ีข​ ้อเ​สีย เพราะ​โลหิต​จากร​ ่างกาย​และป​ อดถ​ ูก​เก็บป​ ะปนก​ ัน​
ในส​ ่วนล​ ่างข​ องห​ ัวใจห​ ้องเ​ดียวกัน ดังน​ ั้น โลหิตท​ ีไ่​หลก​ ลับเ​ข้าม​ าส​ ูห่​ ัวใจอ​ าจจ​ ะถ​ ูกส​ ่งไ​ปเ​ลี้ยงร​ ่างกายโ​ดยไ​มไ่​ด​้
ผ่านก​ ารแ​ ลกเ​ปลี่ยนแ​ ก๊ส​ที่ป​ อด หรือโ​ลหิตท​ ี่ผ​ ่านป​ อด​แล้วไ​หลก​ ลับ​เข้า​สู่​หัวใจ​อาจ​จะ​ถูกส​ ่ง​ไปท​ ี่ป​ อดซ​ ํ้าอ​ ีก​ได้

                4)	 ระบบ​ไหลเวียน​โลหิต​ใน​นก​และ​สัตว์​เล้ียง​ลูก​ด้วย​นํ้านม สัตว์​ทั้ง 2 กลุ่ม​นี้​มี​
เม​แทบ​อ​ลิ​ซึม​สูง​กว่า​พวก​สัตว์​ชนิด​อื่นๆ ดัง​นั้น ระบบ​ไหลเวียน​ที่​พบ​ใน​สัตว์​ทั้ง 2 พวก​นี้​จึง​มี​วิวัฒนาการ​ที่​
เหมาะ​สม​ยิ่ง​ขึ้น​เพื่อ​ให้​มี​การ​ไหลเวียน​โลหิต​ที่​มี​ประสิทธิภาพ​สูง​ใน​การ​ขนส่ง​สาร​จาก​อวัยวะ​ที่​ผลิต​ไป​ให้​แก่​
อวัยวะ​ต่างๆ ทั่วร​ ่างกาย

       โลหิต​ที่พ​ บใ​นส​ ัตว์​ชั้น​สูง ประกอบด​ ้วย​ส่วน​ใหญ่ๆ ดัง​ต่อ​ไป​นี้
            1)	 เซลล์​เม็ด​โลหิต​แดง (red blood cell) มี​รงควัตถุ​ที่​เรียก​ว่า ฮี​โม​โก​ลบิน (hemoglobin)​

ซึ่ง​เป็นโ​ปรตีนเ​ชิงซ้อน​ที่​มี​เหล็ก​เป็นอ​ งค์ป​ ระกอบ ฮีโ​มโ​ก​ลบิน​ใน​เซลล์เ​ม็ด​โลหิตแ​ ดง​เป็น​สาร​ที่ท​ ำ�​หน้าที่ข​ นส่ง​
ออกซิเจน​จาก​ปอด ลำ�เลียง​ไป​สู่​ส่วน​ต่างๆ ของ​ร่างกาย แต่​ใน​สัตว์​บาง​ชนิด เช่น แมลง ฮี​โม​โก​ลบิน​ไม่​อยู่​
ภายใน​เซลล์เ​ม็ด​โลหิต แต่ละ​ลาย​อยู่​ในพ​ ลาสมา ดังน​ ั้น อวัยวะภ​ ายใน​ที่ล​ อยอ​ ยู่​ใน​ของเหลวภ​ ายในล​ ำ�ต​ ัวจ​ ึง​
รับ​ออกซิเจนไ​ด้​จาก​รงควัตถุท​ ี่​ปะปน​ใน​พลาสมาร​ อบๆ เนื้อเยื่อ

            2)	 เซลล์​เม็ด​โลหิต​ขาว (white blood cell) มี​รูป​ร่าง​และ​ขนาด​ต่างๆ กัน ทำ�​หน้าที่​สำ�คัญ​
2 ประการ คือ ทำ�ลายเ​ชื้อโ​รค และส​ ร้าง​สาร​เคมี​เฮพ​ าร​ ิน (heparin) สำ�หรับ​ป้องกันไ​ม่ใ​ห้โ​ลหิต​แข็งต​ ัว​ขณะ​
ที่​ไหลเวียน​อยู่​ในร​ ่างกาย

            3)	 เกลด็ เ​ลอื ด (platelet) ท�ำ ห​ นา้ ทชี​่ ว่ ยใ​หโ​้ ลหติ แ​ ขง็ ต​ วั เ​มือ่ เ​สน้ โ​ลหติ แตกห​ รอื ข​ าด ท�ำ ใหร​้ า่ งกาย​
ไม่​เสียเ​ลือด​มากเ​พราะ​การ​ไหลเวียนโ​ลหิตย​ ัง​คง​ทำ�งาน​ตลอด​เวลา​ที่​ร่างกาย​ยัง​คงม​ ีช​ ีวิต​อยู่

            4)	 พลาสมา (plasma) เป็น​ของเหลว​มี​สี​เหลือง​อ่อน​ใส​ประกอบ​ด้วย​นํ้า​เป็น​ส่วน​ใหญ่ และ​มี​
โปรตีน​อยู่​หลาย​ชนิด ที่​สำ�คัญ​คือ โปรตีน​ไฟ​บริ​โน​เจน (fibrinogen) ซึ่ง​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​แข็ง​ตัว​ของ​โลหิต
อัล​บูมิน​ (albumin) และโ​ก​ลบูล​ ิน (globulin) ทำ�​หน้าที่ส​ ร้าง​แอนติบอดี​และ​ช่วย​รักษา​ความ​เป็นก​รดเ​บสใ​น​
ร่างกาย นอกจากน​ ี้​ในพ​ ลาสมาย​ ังม​ ี​องค์​ประกอบ​อย่างอ​ ื่น เช่น เอนไซม์ ฮอร์โมน เกลือแ​ ร่ ไอออน​ต่างๆ สาร​
อาหารโ​มเ​ลกล​ุ เ​ลก็ ๆ และส​ ารป​ ระเภทข​ องเ​สยี เชน่ ยเ​ู รีย (urea) และค​ ารบ์ อนไดออกไซดป​์ ะปนอ​ ยใู่​นพ​ ลาสมา​
อีกด​ ้วย
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77