Page 68 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 68
2-58 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชาวเยอรมันช่ือ มึนช์ (Munch) เป็นผู้เสนอกลไกที่ท�ำให้เกิดการล�ำเลียงสารในโฟลเอ็มว่า เมื่อใบมีการ
สังเคราะห์ด้วยแสงก็จะมีความเข้มข้นของคาร์โบไฮเดรตมาก ท�ำให้เกิดการแพร่ของนํ้าจากเซลล์ของไซเลม
เข้าไปในเซลล์ของใบ จึงเป็นเหตุให้เกิดแรงดันความเต่งขึ้นในเซลล์ของใบ ในขณะเดียวกัน รากหรือล�ำต้น
ซ่ึงมีการใช้อาหารหรือคาร์โบไฮเดรตไปเร่ือยๆ ในเมแทบอลิซึมต่างๆ เช่น การหายใจระดับเซลล์ การเจริญ
เติบโต หรือการสะสม ก็จะมีความเข้มข้นสารละลายน้อยกว่าหรือแรงดันความเต่งน้อยกว่า ความแตกต่าง
ในแรงดันค วามเต่งน้ีท �ำให้เกิดการผ ลักดันส ารละลายท่ีอยู่ในใบลงม าส ู่ล�ำต้นและรากทางโฟลเอ็ม
4.4 การแ ลกเปลย่ี นแก๊สในพ ืช เกิดขึ้นท ี่ลำ�ต้น ราก และใบ โดยไม่ต้องมีก ารล ำ�เลียงแ ก๊ส เนื่องจาก
การเรียงตัวของเซลล์มีชีวิตที่ยังแลกเปลี่ยนแก๊สได้จะอยู่บริเวณผิวของลำ�ต้นเท่านั้น เซลล์ที่อยู่ตรงกลาง
ลำ�ต้นเป็นเซลล์ท ี่ต ายแ ล้วกล ายเป็นแ ก่นไม้ท ี่แ ข็งม าก และเซลล์ส ่วนใหญ่ในพ ืชม ักอ ยู่ก ันอ ย่างห ลวมๆ มีช ่อง
ว่างระหว่างเซลล์ม าก ตัวอย่าง เช่น เซลล์พาเรงคิม าท ี่พบทั่วๆ ไปในราก ลำ�ต้น และใบ บริเวณน ี้กลายเป็นท ี่
แลกเปลี่ยนแก๊สภ ายในพืช
4.4.1 การแลกเปลี่ยนแก๊สท่ีลำ�ต้นและราก ในพืชที่มีลำ�ต้นและรากแข็งเป็นเนื้อไม้ บริเวณ
เปลือกไม้ข องล ำ�ต้นห รือร ากจะม ีบางส ่วนที่แ ตกอ อกเรียก เลนท ิเซล (lenticel) ซึ่งมีเซลล์พ าเรงคิม าข ้างในท ี่
ยอมใหน้ ํา้ แ ละแ กส๊ ผ า่ นได้ สว่ นร าก โดยป กตแิ ลว้ จ ะม กี ารแ ลกเปลีย่ นแ กส๊ โดยอ ากาศจ ะแ พรเ่ ขา้ ส รู่ ากพ รอ้ มๆ
กับน ํ้าแ ละส ารอ าหาร ในพ ืชท ีล่ ำ�ต้นไมเ่ป็นเนื้อไม้ มสี เีขียวส ามารถส ังเคราะหด์ ้วยแ สงได้ การแ ลกเปลี่ยนแ ก๊ส
จึงเกิดขึ้นที่ร ูป ากใบข องล ำ�ต้น
4.4.2 การแลกเปลี่ยนแก๊สท่ีใบ ใบเป็นส่วนของพืชที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊สมากที่สุด ทั้งนี้
เพราะก ารแ ลกเปลีย่ นแ กส๊ จ ะเกดิ ข ึน้ พ รอ้ มๆ กบั ก ารส งั เคราะหด์ ว้ ยแ สงแ ละก ารห ายใจร ะดบั เซลล์ โดยร ปู ากใบ
และเซลล์ค ุมทำ�ห น้าที่ควบคุมการแ ลกเปลี่ยนแ ก๊สและการคายน ํ้าท างร ูป ากใบ โดยท ั่วไป ชั้นเนื้อเยื่อผ ิวของ
ใบม สี ารข ผี้ ึง้ พ วกค วิ ท ินเคลือบอ ยู่ จึงไมย่ อมใหน้ ํ้าผ ่านแ ตย่ อมใหแ้ ก๊สผ า่ นไดบ้ ้าง ดังน ั้น การแ ลกเปลี่ยนแ ก๊ส
จึงเกิดข ึ้นบ ริเวณผ ิวใบได้บ ้างแ ต่เป็นส ่วนน ้อย ส่วนใหญ่จ ะเกิดข ึ้นท ี่ร ูป ากใบ ซึ่งม ักจ ะพ บอ ยู่บ ริเวณด ้านล ่าง
ของใบหรือก้านใบมากกว่าด ้านบนหรือห ลังใบ
5. การล �ำ เลยี งส ารในร ่างกายข องส ตั ว์
เมื่อสัตว์กินอาหารและนํ้าเข้าไป อาหารจะถูกย่อยเป็นโมเลกุลเล็กๆ และถูกดูดซึมเข้าสู่ระบบการ
ลำ�เลียงเพื่อไปย ังเซลลส์ ่วนต ่างๆ สำ�หรับใชเ้ป็นว ัตถุดิบในก ารส ร้างพ ลังงาน สิ่งทีจ่ ำ�เป็นอ ย่างย ิ่งในก ารท ำ�งาน
ในร ะดับเซลล์ข องส ัตว์ท ุกชนิดคือ แก๊สอ อกซิเจน ระบบไหลเวียนโลหิตเป็นตัวกลางนำ�แก๊สออกซิเจนจากสิ่ง
แวดล้อมภ ายนอกเข้าส ูเ่ซลล์ และในข ณะเดียวกันก น็ �ำ แ ก๊สค าร์บอนไดออกไซดอ์ อกไปส ูส่ ิ่งแ วดล้อมภ ายนอก
สารบางชนิดสร้างขึ้นที่เซลล์บริเวณหนึ่งแต่ไปมีผลต่อการทำ�งานของเซลล์ที่อยู่ห่างไกล สารนี้ก็จะถูกนำ�ไป
โดยผ่านระบบการลำ�เลียงด้วยเช่นเดียวกัน เช่น ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมใต้สมองที่ไปมีผลต่อการทำ�งาน
ของเซลล์ที่รังไข่
การล ำ�เลียงในส ัตว์ช ั้นต ํ่าแ ตกต ่างจ ากก ารล ำ�เลียงในส ัตว์ช ั้นส ูง เนื่องจากโครงสร้างข องร ่างกายแ ตก
ต่างก ัน สัตว์ชั้นตํ่ามีโครงสร้างร ่างกายแ บบง่ายๆ ดังนั้น การลำ�เลียงสารอาหารจะเกิดขึ้นโดยอาศัยก ารไหล