Page 73 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 73

กระบวนการ​ดำ�รงช​ ีวิต 2-63

            6)	 น้ําเ​หลือง (lymph) คือ ของเหลว​ใน​โลหิต​ที่​ซึมผ​ ่านผ​ นัง​เส้น​โลหิตฝ​ อยอ​ อก​มา​อยู่​ระหว่าง​
เซลลห​์ รืออ​ ยรู่​ อบๆ เซลล์ สารท​ ีซ่​ มึ ผ​ า่ นอ​ อกม​ าน​ ีเ้​ปน็ ส​ ารพ​ วกโ​มเ​ลกลุ​ เ​ล็กๆ เช่น แก๊สต​ ่างๆ และน​ ํ้าตาลก​ ลโู คส
ท่อ​นํ้าเ​หลือง​อยู่​ทั่วร​ ่างกาย​และม​ ี​ขนาดต​ ่างๆ กัน คือ ท่อ​นํ้าเ​หล​ ือง​ เ​ล็กๆ เปิดเ​ข้า​สู่​ท่อ​นํ้าเ​หลือง​ใหญ่​และเ​ปิด​
เข้า​สู่​เส้น​โลหิต​สู่​หัวใจ (vein) ที่​อยู่​ใกล้​หัวใจ นํ้า​เหลือง​ทำ�​หน้าที่​เป็น​ตัวกลาง​แลก​เปลี่ยน​สาร​ต่างๆ ระหว่าง​
เซลล์​และเ​ส้น​โลหิต​ฝอย​ด้วย

       เมื่อพ​ ิจารณาอ​ งค์ป​ ระกอบท​ ี่ม​ ีอ​ ยู่ใ​นโ​ลหิตจ​ ะเ​ห็นไ​ด้ว​ ่า ระบบไ​หลเวียนโ​ลหิตม​ ีค​ วามส​ ำ�คัญอ​ ย่างมาก​
ในก​ ารด​ �ำ รงช​ วี ติ เพราะร​ ะบบน​ เี​้ ปน็ ต​ วั กลางป​ ระสานก​ ารท​ �ำ งานก​ บั ร​ ะบบอ​ ืน่ ๆ ภายในร​ า่ งกาย ดงั เ​ชน่ การล​ �ำ เลยี ง​
สาร​อาหาร​จาก​ระบบ​ย่อย​อาหาร​ไป​กับ​ส่วน​ที่​เป็น​พลาสมา การ​ลำ�เลียง​ฮอร์โมน​จาก​ต่อม​ไร้​ท่อ การ​ลำ�เลียง​
​เซลล์​เม็ด​โลหิต​ขาว​ที่​ทำ�​หน้าที่​คอย​ดัก​จับ​เชื้อ​โรค​และ​ป้องกัน​ไม่​ให้​โลหิต​แข็ง​ขณะ​ไหลเวียนทั่ว​ร่างกาย​
การ​ลำ�เลียง​ออกซิเจน​จาก​ปอด​ไป​สู่​เซลล์​ภายใน​ร่างกาย​โดย​การ​ทำ�งาน​ของ​รงควัตถุ​ใน​เซลล์​เม็ด​โลหิต​แดง
และ​การนำ�​ของ​เสีย​ที่​ต้อง​กำ�จัด​ออก​สู่​ภายนอก​ร่างกาย​ไป​ยัง​ระบบ​ที่​เกี่ยวข้อง เช่น ระบบ​ขับถ่าย​ใน​สัตว์​
เช่น นก และ คน ระบบ​ไหลเวียน​โลหิต​นอกจาก​จะ​มีหน้า​ที่ล​ ำ�เลียงส​ าร​อาหาร และม​ ีอ​ งค์​ประกอบ​ต่างๆ ที่ม​ ี​
ความ​สำ�คัญก​ ับ​การด​ ำ�รงช​ ีวิตแ​ ล้ว ระบบไ​หลเวียนโ​ลหิต​ยัง​ช่วย​รักษาอ​ ุณหภูมิข​ อง​ร่างกายใ​ห้ค​ งที่อีกด​ ้วย

       เมื่อ​พิจารณา​ถึง​วิวัฒนาการ​ของ​หัวใจ​ของ นก และ​คน จะ​เห็น​ว่า หัวใจ​ถูก​แบ่ง​เป็น 4 ห้อง​อย่าง​
สมบูรณ์ และ​เส้น​โลหิต​ที่​นำ�​โลหิต​ออก​จาก​หัวใจ​เหลือ​เพียง​เส้น​เดียว หัวใจ​ทำ�​หน้าที่​สำ�คัญ​ใน​การ​ควบคุม​
อัตรา​การ​ไหลเวียน​ของ​โลหิต​ทั่ว​ร่างกาย โดย​ทำ�งาน​ร่วม​กับ​ระบบ​ประสาท การ​ที่​หัวใจ​ด้าน​ล่าง​ถูก​แบ่ง​เป็น​
2 ส่วน​นั้นม​ ีข​ ้อดีค​ ือ ป้องกัน​การป​ ะปน​ของโ​ลหิต ข้อไ​ด้​เปรียบข​ องก​ ารม​ ีเ​ส้นโ​ลหิตแ​ ดงใ​หญ่เ​พียง​เส้นเ​ดียวน​ ำ�​
โลหิต​ออกจ​ าก​หัวใจ คือ โลหิตท​ ี่​มีอ​ อกซิเจน​สูงถ​ ูกส​ ่งม​ า​จาก​ปอดเ​ข้าส​ ู่​หัวใจ แล้วโ​ลหิต​นี้จ​ ะ​ต้องถ​ ูก​นำ�​ออก​ไป​
ทาง​ด้าน​บน ไป​เลี้ยง​ส่วน​ต่างๆ ของ​ร่างกาย การ​ที่​โลหิต​ผ่าน​หัวใจ​ก่อน​ถูก​ส่ง​ไป​เลี้ยง​ร่างกาย​จะ​ทำ�ให้​มี​แรง​
ดัน​โลหิต​สูง​ขึ้น การ​ที่​โลหิต​ไหล​ออก​ผ่าน​ท่อ​โลหิต​ใหญ่​จะ​ทำ�ให้​โลหิต​ไหล​ผ่าน​สะดวก​ยิ่ง​ขึ้น เพราะ​มี​ความ​
ต้านทานข​ องห​ ลอดโ​ลหิตน​ ้อยล​ ง

       ดงั น​ ัน้ จ​ ะเ​หน็ ไ​ดว​้ า่ ระบบไ​หลเวยี นโ​ลหติ ใ​นส​ ตั วช​์ ัน้ ส​ งู ซ​ ึง่ ม​ โ​ี ครงสรา้ งข​ องร​ า่ งกายซ​ บั ซ​ อ้ นมว​ี วิ ฒั นาการ​
เพื่อ​ความ​มี​ชีวิต​รอด​เหนือ​สัตว์​ชั้น​ตํ่า​กว่า​อย่าง​เห็น​ได้​ชัด ประการ​แรก​คือ การ​ไหลเวียน​โลหิต​ผ่าน​หัวใจ​ถึง​
2 ครั้ง ทำ�ให้ค​ วาม​ดันโ​ลหิตภ​ ายในเ​ส้น​โลหิตส​ ูงข​ ึ้น ซึ่ง​เป็น​ผล​จากก​ าร​บีบต​ ัวเ​ป็นจ​ ังหวะข​ องห​ ัวใจ ประการ​ที​่
สอง​คือ การม​ ี​ผนัง​กั้น​ที่ห​ ัวใจ​ห้อง​ล่างแ​ บ่งแ​ ยก​ไม่​ให้​โลหิตท​ ี่​มีอ​ อกซิเจน​สูง​ปน​กับโ​ลหิต​ที่​มีอ​ อกซิเจน​ตํ่า และ​
ประการส​ ุดท้ายค​ ือ การม​ เี​ส้นโ​ลหิตแ​ ดงใ​หญเ่​พียงเ​ส้นเ​ดียวน​ ำ�โ​ลหิตอ​ อกจ​ ากห​ ัวใจ ทำ�ใหโ้​ลหิตถ​ ูกน​ ำ�ไ​ปส​ ูส่​ ่วน​
ต่างๆ ได้ส​ ะดวก​และ​มี​ความด​ ัน​โลหิตแ​ รง​ขึ้น

             หลังจ​ าก​ศึกษาเ​นื้อหาส​ าระ​เรื่องท​ ี่ 2.2.2 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 2.2.2
                      ใน​แนว​การ​ศึกษาห​ น่วย​ที่ 2 ตอนท​ ี่ 2.2 เรื่อง​ที่ 2.2.2
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78