Page 71 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 71
กระบวนการด ำ�รงช ีวิต 2-61
ขอ้ ดขี องก ารม รี ะบบไหลเวยี นโลหติ แ บบเปดิ ในแ มลง คอื อวยั วะต า่ งๆ ภายในข องแ มลงส มั ผสั
โดยตรงก ับโลหิตที่ปะปนอยู่ก ับข องเหลวในล ำ�ตัว ดังนั้น แมลงจึงสามารถม ีช ีวิตอยู่ได้ถึงแ ม้จ ะอยู่ในสภาวะ
ที่แ ห้งแ ล้ง เพราะถ ึงแ ม้แ มลงจ ะส ูญเสียน ํ้าไปบ ้าง แต่อ วัยวะภ ายในย ังค งท ำ�งานได้ต ามป กติ เนื่องจากอ วัยวะ
เหล่าน ั้นลอยอยู่ในข องเหลวภ ายในล ำ�ตัว
5.2.2 ระบบไหลเวียนโลหิตแบบปิด ระบบนี้โลหิตจะถูกลำ�เลียงไปตามเส้นโลหิตตลอดเวลา
ตั้งแตโ่ลหิตไหลอ อกจ ากห ัวใจไปต ามอ วัยวะต ่างๆ ภายในร ่างกายจ นก ระทั่งก ลับเข้าส ูห่ ัวใจอ ีกค รั้ง เส้นโลหิต
ทนี่ �ำ โลหติ เขา้ แ ละอ อกจ ากห วั ใจจ ะม ขี นาดใหญ่ มผี นงั ห ลอดโลหติ ห นาก วา่ เสน้ โลหติ ฝ อยท อี่ ยตู่ ามอ วยั วะข อง
ร่างกาย ระบบไหลเวียนโลหิตแ บบปิดน ี้พ บในพวกสัตว์ม ีก ระดูกส ันห ลังทั้งหมด และในส ัตว์ไม่มีกระดูกสัน
หลังพวกแ อนเนลิด า ดังจ ะก ล่าวถึงระบบไหลเวียนโลหิตแบบป ิดในส ัตว์ต่อไปนี้
1) ระบบไหลเวียนโลหติ ในไส้เดือนดิน ไส้เดือนดินเป็นส ัตว์พ วกแรกที่ม ีก ารไหลเวียน
โลหิตแบบปิด ไส้เดือนมีห ัวใจเทียม (aortic loop) ซึ่งมีลักษณะเป็นห่วงเส้นโลหิตที่พองออก และโอบร อบ
บรเิ วณห ลอดอาหาร หวั ใจจ ะเชือ่ มต อ่ ก บั เสน้ โลหติ ด า้ นบ นแ ละด า้ นล า่ งข องล �ำ ต วั เสน้ โลหติ ท ัง้ ส องเสน้ น มี้ แี นว
ย่อยฝังแ ทรกอยู่ต ามเนื้อเยื่อต่างๆ แนวที่เล็กท ี่สุดเรียกว่า เส้นโลหิตฝอย (capillary) ซึ่งมีผ นังบาง และมี
อยูเ่ป็นจ ำ�นวนม าก การแ ลกเปลี่ยนส ารท ีอ่ ยูใ่นโลหิตก ับเซลลเ์กิดข ึ้นท ีบ่ ริเวณเส้นโลหิตฝ อยซ ึ่งเกิดข ึ้นบ ริเวณ
ผนังท ั่วต ัว โลหิตซ ึ่งม ีร งควัตถุป ะปนอ ยู่เพื่อท ำ�ห น้าที่จ ับอ อกซิเจนไปใช้ในก ารห ายใจร ะดับเซลล์จ ากห ัวใจจ ะ
ถูกส ูบฉ ีดไปย ังเส้นโลหิตซ ึ่งอ ยู่บ ริเวณส ่วนห ัวข องไส้เดือนด ิน เมื่อเส้นโลหิตห ดต ัว โลหิตจ ะถ ูกด ันไปส ู่โลหิต
ที่อยู่ด้านล่างของลำ�ตัวใต้ทางเดินอาหาร และไปสู่เส้นโลหิตฝอยที่ฝังแทรกตามเนื้อเยื่อต่างๆ โลหิตในเส้น
โลหิตฝอยที่ได้แลกเปลี่ยนสารอาหารกับเซลล์ต่างๆ ก็จะไหลไปตามเส้นโลหิตที่ต่อจากเส้นโลหิตฝอย ซึ่งมี
ขนาดเส้นโลหิตใหญ่ข ึ้น และไหลไปส ู่เส้นโลหิตท ี่ท อดต ามย าวด ้านบ นข องล ำ�ต ัวเหนือท างเดินอ าหาร เมื่อเส้น
โลหิตบ ีบต ัวโลหิตก ็จะถูกดันไปข้างหน้าจนถึงหัวใจเทียม
2) ระบบไหลเวียนโลหิตในปลา มีความสัมพันธ์โดยตรงกับการแลกเปลี่ยน
แ กส๊ ซ ึง่ เกดิ ข ึน้ ท บี่ รเิ วณเหงอื ก สว่ นป ระกอบต า่ งๆ ทที่ �ำ ใหโ้ ลหติ ป ลาไหลเวยี นไดท้ ัว่ ร า่ งกาย คอื หวั ใจ เสน้ โลหติ
ที่นำ�โลหิตไปสู่เหงือก เส้นโลหิตที่นำ�โลหิตจากเหงือกไปด้านหลัง เส้นโลหิตเล็กๆ แยกไปสู่อวัยวะทั่วตัว
และเส้นโลหิตฝอยซึ่งแ ตกแขนงแทรกอ ยู่ต ามอวัยวะภ ายใน
หัวใจป ลาห ้องบน (atrium) ทำ�หน้าที่รับโลหิตท ี่มาจ ากส่วนล่างข องล ำ�ต ัว ส่งผ ่านไปยัง
หัวใจห ้องล ่าง (ventricle) การบ ีบต ัวข องก ล้ามเนื้อห ัวใจท ำ�ใหโ้ลหิตถ ูกส ่งไปท ีบ่ ริเวณเหงือก การแ ลกเปลี่ยน
ออกซิเจนในนํ้ากับโลหิตจะเกิดขึ้นที่เหงือก โลหิตที่ผ่านเหงือกแล้วจะมีออกซิเจนสูงและถูกส่งไปตามเส้น
โลหิตที่ออกจากหัวใจ (artery) และนำ�ไปยังอวัยวะต่างๆ การแลกเปลี่ยนสารอาหารที่ระบบทางเดินอาหาร
และข องเสยี ท รี่ ะบบข บั ถ า่ ยจ ะเกดิ ข ึน้ โดยผ า่ นร ะบบเสน้ โลหติ ในท ีส่ ดุ โลหติ ท มี่ อี อกซเิ จนน อ้ ยล งจ ะถ กู ล �ำ เลยี ง
กลับมาผ่านหัวใจปลาอีกค รั้ง
ข้อดีข องก ารท ี่โลหิตจ ากห ัวใจผ ่านเหงือกก ่อนไปเลี้ยงส ่วนต ่างๆ ของร ่างกาย คือ โลหิต
ที่ถูกลำ�เลียงไปน ั้นจะสมบูรณ์ด ้วยอ อกซิเจน แต่เนื่องจากเส้นโลหิตบ ริเวณเหงือกม ีขนาดเล็กม ากเพราะเป็น
เส้นโลหิตฝอย จึงทำ�ให้มีความต้านทานเกิดขึ้นในขณะที่โลหิตไหลผ่านเหงือก ดังนั้น โลหิตที่ไหลออกจาก