Page 69 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 69
กระบวนการดำ�รงช ีวิต 2-59
เวียนของไซโทพลาซึมภายในเซลล์ช่วยให้การแพร่ของสารอาหารภายในเซลล์ของร่างกายเกิดขึ้นได้อย่างมี
ประสิทธิภาพโดยไม่ต ้องอ าศัยก ระบวนการพ ิเศษเพื่อก ารล ำ�เลียง ในส ัตว์ช ั้นส ูงเซลล์ข องร ่างกายป ระกอบก ัน
เปน็ อ วยั วะต า่ งๆ อยกู่ นั อ ยา่ งห นาแ นน่ และเซลลเ์ หลา่ น ตี้ อ้ งการอ าหารเพือ่ ก ารท ำ�งานข องเซลลต์ ลอดเวลา เมือ่
สารอ าห ารร อบๆ เซลลถ์ ูกใชไ้ปท ำ�ใหค้ วามเข้มข ้นข องส ารอ าหารในส ิ่งแ วดล้อมข องเซลลล์ ดล ง ดังน ั้น เซลลจ์ ึง
ต้องม ีว ิธีก ารล ำ�เลียงส ารอ าหารม าท ดแทนให้เพียงพ อก ับค วามต ้องการข องเซลล์เหล่าน ั้น กระบวนการพ ิเศษ
ทีใ่ชใ้นก ารล ำ�เลียงส ารอ าหารไปใหเ้ซลลแ์ ละแ ลกเปลี่ยนข องเสียท ีไ่ดจ้ ากก ารท ำ�งานข องเซลลอ์ อกไปส ูร่ ะบบท ี่
เกี่ยวข้อง คือ ระบบไหลเวียนโลหิต
การไหลเวียนโลหิตในสัตว์จำ�แนกได้เป็น 2 แบบ คือ การไหลเวียนโลหิตแบบป ิด และก ารไหลเวียน
โลหิตแบบเปิด ทั้งสองแบบมีหัวใจเป็นอวัยวะสำ�คัญในการสูบฉีดโลหิตไปตามเส้นโลหิตซึ่งนำ�สารอาหารไป
สู่เซลล์ห รือเนื้อเยื่อข องร ่างกาย ลักษณะท ี่แ ตกต ่างข องการไหลเวียนโลหิต 2 แบบนี้ค ือ การแลกเปลี่ยนส าร
อาหารระหว่างโลหิตก ับเซลล์ การไหลเวียนแ บบปิดนั้นม ีเส้นโลหิตฝ อยเป็นต ัวกลางท�ำ หน้าที่น ำ�โลหิตแดงไป
เลี้ยงเซลลแ์ ละโลหิตด ำ�ก ลับเขา้ ส ูห่ ัวใจ การไหลเวยี นโลหติ แ บบเปดิ การแ ลกเปลีย่ นส ารอ าหารเกิดข ึน้ โดยตรง
ระหว่างโลหิตก ับเซลลข์ องร ่างกาย เนื่องจากไม่มเีส้นโลหิตฝ อย เมื่อโลหิตไหลอ อกจ ากห ัวใจไปต ามเส้นโลหิต
ซึ่งปลายเปิดทำ�ให้โลหิตอ าบ รอบๆ เซลล์และเนื้อเยื่อของสัตว์
5.1 การล ำ�เลยี งในส ตั วช์ น้ั ต า่ํ ในส ตั วก์ ลุ่มน สี้ ารอ าหารท ถี่ ูกน ำ�เขา้ ส ูเ่ซลลข์ องร า่ งกายจ ะถ กู ล ำ�เลยี งไป
ภายในเซลล์ด้วยวิธีการแ พร่ สารที่ไม่ต้องการจะถูกขับออกม านอกเซลล์โดยว ิธีก ารลำ�เลียงผ ่านเยื่อหุ้มเซลล์
สัตว์เหล่านี้มีวิธีการเพิ่มอัตราการแพร่ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นโดยมีการไหลเวียนของไซโทพลาซึมเกิดขึ้น
ด้วย สัตว์ช ั้นต ํ่าห ลายเซลล์บ างช นิดอ าศัยก ารแ พร่ข องส ารจ ากช ่องว ่างก ลางล ำ�ต ัว ซึ่งท ำ�ห น้าที่เป็นท ั้งท างเดิน
อาหารแ ละทางลำ�เลียงของสารต่างๆ ในเวลาเดียวกัน
5.1.1 การลำ�เลียงในโพรโทซัว โพรโทซัวเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่อาศัยอยู่ในนํ้า อาหาร
โมเลกุลเล็กๆ ในนํ้าและแก๊สสามารถผ่านเข้าและออกจากเซลล์ไปสู่สิ่งแวดล้อมรอบๆ โดยอาศัยการแพร่
ของส ารผ ่านเยื่อห ุ้มเซลลซ์ ึ่งล ้อมร อบล ำ�ต ัว ส่วนอ าหารท ีเ่ป็นข องแข็งม ขี นาดใหญเ่กินก ว่าจ ะผ ่านเยื่อห ุ้มเซลล์
โดยวิธีการแพร่ได้ โพรโทซัวแต่ละชนิดจะมีวิธีการนำ�อาหารเข้าสู่ตัวไม่เหมือนกัน ตัวอย่าง เช่น อะมีบาใช้
เทา้ เทียม (pseudopodium) โอบร อบอ าหาร สว่ นพ าราม เีซยี มใชข้ นซ เิ ลยี พ ดั โบกน ำ�อ าหารเขา้ ส ูร่ ่องป าก (oral
groove) อาหารที่ถ ูกนำ�เข้าสู่ภ ายในจ ะถ ูกเก็บสะสมไว้ในถุงอาหาร (food vacuole) ต่อม าอาหารจ ะถูกย ่อย
โดยเอนไซม์จากไลโซโซม แล้วถูกดูดซึมเข้าสู่ไซโทพลาซึม อาหารที่ย่อยแล้วในไซโทพลาซึมจะถูกลำ�เลียง
ไปตาม ออร์แ กเนลล์ทั่วตัวโดยอ าศัยการไหลเวียนข องไซโทพ ลาซึม (cytoplasmic streaming) การขับถ่าย
ของเสียพวกแก๊สออกสู่ภายนอกของพวกโพรโทซัวเกิดขึ้นโดยการซึมผ่านของของเสียออกทางเยื่อหุ้มรอบ
ลำ�ตัว ส่วนก ารก ำ�จัดนํ้าโพรโทซัวจ ะมีค อนแทรกไทล์แวคิวโอล(contractile vacuole) ทำ�หน้าที่สะสมน ํ้าที่
มีมากเกินพ อแล้วลำ�เลียงอ อกส ู่ภ ายนอกโดยก ารห ดตัวของคอนแ ทรกไทล์แวคิวโอล ดันนํ้าอ อกสู่ภายนอก
5.1.2 การล ำ�เลยี งในฟ องนา้ํ ฟองนํ้าเป็นส ัตวห์ ลายเซลลท์ ีม่ เีนื้อเยื่อเพียง 2 ชั้น ผนังล ำ�ต ัวด ้าน
ในมีเซลล์ที่ม ีแ ฟลเจลลัมหรือแ ส้เรียงรายอยู่ เซลล์เหล่าน ี้เรียกว่า เซลล์ป ลอกคอ (collar cell) ทำ�หน้าที่จ ับ
อาหารที่ปะปนมากับนํ้า การเคลื่อนไหวของแส้เหล่านั้นจะเป็นตัวกำ�หนดทิศทางและเพิ่มอัตราการไหลของ