Page 65 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 65
กระบวนการด ำ�รงชีวิต 2-55
ดันรากจะเห็นว่ามีของเหลวไหลออกมาจากปลายของตอที่เหลืออยู่เรื่อยๆ และหากต่อปลายของตอเข้ากับ
เครื่องวัดความดันของเหลว (manometer) ก็จะทราบค่าแรงดันได้ ส่วนปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เป็นผล
ของแรงดันราก คือ ในเวลาเช้ามืดจะสังเกตเห็นหยดนํ้าคล้ายหยดนํ้าค้างติดอยู่ที่ปลายใบหญ้า หยดนํ้านี้
ไม่ใช่หยดนํ้าค้างแต่เป็นนํ้าที่ถูกขับออกมาจากใบโดยกระบวนการกัตเตชัน (guttation) ที่ผ่านทางออกซึ่ง
ไม่ใช่ร ูป ากใบ แต่เป็นร ูเปิดไฮด าโทด (hydathode) ซึ่งอ ยู่ต ามข อบๆ ใบ หรือป ลายใบที่แหลม อย่างไรก็ตาม
พืชบางช นิดไม่มีแรงด ันราก เช่น ต้นสน
(4) แรงดึงจากการคายนํ้า (transpiration pull) แรงดึงจากการคายนํ้าเกิดขึ้น
จากการคายนํ้าของใบ จะมีค่าสูงมากในขณะที่พืชมีการคายนํ้าด้วยอัตราเร็วสูงเป็นเวลานาน แรงดึงจาก
การคายนํ้าเป็นวิธีที่สำ�คัญที่สุดสำ�หรับพืชที่มีความสูงมากๆ การคายนํ้าหรือการระเหยของนํ้าที่ใบของพืช
ทำ�ให้เกิดก ารข าดน ํ้าในเซลล์ จึงมีก ารด ึงน ํ้าจ ากเซลล์ลำ�เลียงข ้างเคียง คือ เซลล์ข องไซเลม ทำ�ให้เกิดแ รงดึง
(tension) เนื่องจากโมเลกุลของนํ้าม ีแ รงดึงซ ึ่งกันแ ละก ัน (cohesion) ซึ่งเกิดจ ากก ารส ร้างพันธะไฮโดรเจน
และม ีแ รงดึงดูด (adhesion) กับผ นังข องท ่อไซเลม ทำ�ให้แ รงด ึงซ ึ่งเกิดจ ากก ารค ายน ํ้าในท ่อไซเลม นี้ต ่อเนื่อง
กันเป็นส าย แรงดึงน ี้จ ะด ึงนํ้าข ึ้นมาจ ากร ากเพื่อทดแทนนํ้าท ี่สูญเสียไปเนื่องจากก ารค ายนํ้าข องใบ แรงดึงซึ่ง
เกิดจ ากก ารค ายน ํ้าข องใบน ี้ส ามารถด ึงน ํ้าจ ากร ากส ู่ใบข องพ ืชท ี่ส ูง มากๆ ได้ พืชต ่างช นิดก ันใช้แ รงแ ละว ิธีก าร
ลำ�เลียงท ีแ่ ตกต ่างก ัน หรือพ ืชบ างช นิดอ าจจ ะใชแ้ รงแ ละว ิธกี ารล ำ�เลียงห ลายๆ วิธี พืชบ างช นิดไม่มแี รงด ันร าก
ดังน ั้นจ ึงอ าศัยก ารล ำ�เลียงโดยใช้แ รงด ึงจ ากก ารค ายน ํ้าเพียงอ ย่างเดียว ซึ่งแ รงด ึงจ ากก ารค ายน ํ้าน ี้เป็นแ รงท ี่
ทำ�ให้เกิดก ารล ำ�เลียงนํ้าขึ้นไปได้ส ูงท ี่สุด
2) การล �ำ เลยี งส ารอ าหาร การล ำ�เลียงเกลือแ ร่ท ี่ร ากด ูดม าจ ากภ ายนอกเกิดข ึ้นพ ร้อมๆ
กับก ารล ำ�เลียงน ํ้าโดยผ ่านไปท างไซเลมข ึ้นส ูส่ ่วนบ นข องพ ืช สารอ าหารท ีล่ ำ�เลียงน ีจ้ ะอ ยูใ่นร ูปข องไอออน เช่น
โพแทสเซยี มไออน แคลเซยี มไอออน และไนเตรตไอออน การล �ำ เลยี งส ารอ าหารท างไซเลม นใี้ ชว้ ธิ กี ารเดยี วกนั
กับก ารล ำ�เลียงน ํ้า คือ อาศัยแ รงด ันค าพ ิลล าร ี การแ พร่ข องส ารอ าหาร แรงด ันร าก และแ รงด ึงจ ากก ารค ายน ํ้า
ซึ่งแรงด ึงจากการค ายนํ้าเป็นวิธีที่ทำ�ให้เกิดการล ำ�เลียงสารอ าหารได้มากกว่าวิธีอ ื่นๆ
4.2 การคายนา้ํ ของพ ชื ทำ�ให้เกิดก ารหมุนเวียนข องน ํ้าระหว่างภายในแ ละภายนอกพืช
4.2.1 ประโยชน์ของการคายน้ํา ปริมาณนํ้าที่พืชสูญเสียเนื่องจากการคายนํ้ามีปริมาณสูง
มาก สำ�หรับประโยชน์ที่ได้จากการคายนํ้าที่นับว่ามีความสำ�คัญมี 3 ประการ คือ 1) ช่วยลดความร้อนของ
ใบ เนื่องจากการคายนํ้าเป็นการระเหยของนํ้ากลายเป็นไอซึ่งต้องอาศัยความร้อนแฝง นํ้าจะดึงความร้อน
จำ�นวนนี้ไปจากใบทำ�ให้อุณหภูมิของใบลดลงได้ตามส่วนของปริมาณความร้อนที่ถูกใช้ไป อุณหภูมิที่ลดลง
นี้วัดได้ 2-3 องศาเซลเซียส 2) ช่วยในก ารด ูดนํ้าและส ารอาหาร และ 3) ช่วยในการลำ�เลียงน ํ้าและส ารอ าหาร
การค ายน ํ้าม ผี ลเสียต ่อพ ืชเช่นก ัน กล่าวค ือ ถ้าพ ืชม กี ารค ายน ํ้าม ากเกินไปอ าจเป็นอ ันตรายต ่อ
การเจริญเติบโต สังเกตได้จากต ้นไม้ในเวลากลางว ัน ขณะท ี่พืชมีการค ายน ํ้าสูงและร ากด ูดน ํ้าข ึ้นไปท ดแทน
ไม่เพียงพ อ ทำ�ให้ใบเหี่ยว และเมื่อขาดนํ้าม ากๆ พืชก ็อ าจตายได้