Page 62 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 62

2-52 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

       1.3 	การ​แพร่​แบบ​ฟา​ซิ​ลิ​เทต ​เป็นการ​ลำ�เลียง​สาร​จาก​บริเวณ​ที่​มี​ความ​เข้ม​ข้น​สูง​ไป​สู่​บริเวณ​ที่​มี​
ความเ​ข้มข​ ้นข​ องส​ ารน​ ั้นต​ ํ่าก​ ว่าซ​ ึ่งเ​หมือนก​ ับก​ ารแ​ พรธ่​ รรมดา เพียงแ​ ตม่​ กี​ ลไกพ​ ิเศษโ​ดยอ​ าศัยต​ ัวพ​ า (carrier)
ใน​การ​ลำ�เลียง​สาร โดยต​ ัว​พา​จับก​ ับส​ าร​ที่​จะ​ถูกล​ ำ�เลียง​แล้ว​พา​ผ่าน​เยื่อ​หุ้มเ​ซลล์ เมื่อ​ผ่านไ​ป​แล้ว​จึง​สลาย​ตัว
ปล่อย​สาร​ที่​ลำ�เลียง​ไว้ แล้ว​ตัวพ​ า​จะท​ ำ�ห​ น้าที่​ลำ�เลียง​ใหม่​ต่อ​ไป

       เซลล์​สร้าง​ตัว​พา​ซึ่ง​เป็นเ​อนไซม์ เรียก​ว่า เพ​อร์ม​ ี​เอส (permease) ตัวพ​ าแ​ ต่ละช​ นิด​มีส​ มบัติ​เลือก​พา​
เฉพาะ​สาร​บาง​ชนิด​เท่านั้น นอกจาก​เอนไซม์​แล้ว​ยัง​มี​ตัว​พา​ซึ่ง​เป็น​ลิ​พิด​ที่​มี​ฟอสฟอรัส​เป็น​ส่วน​ประกอบ​
สำ�คัญ​อยู่​ด้วย คือ เล​ซิ​ทิน (lecithin) ซึ่ง​มี​อยู่​มาก​ใน​เยื่อ​หุ้ม​เซลล์​ราก​ของ​พืช​ซึ่ง​ทำ�​หน้าที่​เป็น​ตัว​พา​สำ�หรับ​
การด​ ูดแ​ ละล​ ำ�เลียงส​ ารอ​ าหารต​ ่างๆ ของพ​ ืช ตัวอย่างข​ องว​ ิธีก​ ารล​ ำ�เลียงแ​ บบน​ ี้เ​ห็นไ​ด้ช​ ัดใ​นร​ ะบบเ​ซลล์ท​ ี่ม​ ีก​ าร​
ลำ�เลียงก​ ลูโคส​เข้า​หรืออ​ อก​จาก​เซลล์​ได้​รวดเร็ว​กว่า​การแ​ พร่​ธรรมดา​มาก ในเ​นื้อเยื่อส​ ัตว์ เช่น ตับ เม็ด​โลหิต​
แดง กระบวนการ​แพร่​แบบ​ฟา​ซิ​ลิ​เท​ตจะ​ลำ�เลียง​กลูโคส​เข้า​หรือ​ออก​จาก​เซลล์​ตลอด​เวลา​โดย​มี​ทิศทาง​การ​
ลำ�เลียง​จาก​บริเวณ​ที่​มี​ความ​เข้ม​ข้น​ของ​กลูโคส​สูง​ไป​สู่​บริเวณ​ที่​มี​ความ​เข้ม​ข้น​ของ​กลูโคส​ตํ่า กล้าม​เนื้อ​เป็น​
ตัวอย่าง​ของเ​นื้อเยื่อท​ ี่ม​ ี​ความต​ ้องการ​กลูโคส​ไม่เ​ท่าก​ ันต​ ลอดเ​วลา ถ้าก​ ลูโคสไ​ม่​เพียง​พอก​ ล้าม​เนื้อ​จะ​ทำ�งาน​
ไม่​เต็ม​ที่ การ​แพร่​แบบ​ฟา​ซิ​ลิ​เท​ตนี้​ทำ�ให้​การ​ลำ�เลียง​หรือ​การ​แพร่​ของ​กลูโคส​มี​อัตรา​สูง​ขึ้น​และ​เพียง​พอ​แก่​
ความต​ ้องการข​ อง​เซลล์ห​ รือ​เนื้อเ​ยื่อ​นั้นๆ

2. 	การล​ �ำ เลยี ง​แบบใ​ชพ​้ ลงั งาน

       การล​ ำ�เลยี งแ​ บบใ​ชพ​้ ลังงานต​ ่างก​ บั ก​ ารแ​ พรต​่ รงท​ ีเ่​ป็นการล​ �ำ เลียงส​ ารจ​ ากบ​ รเิ วณท​ ีม​่ ค​ี วามเ​ข้มข​ ้นข​ อง​
สาร​นั้น​ตํ่า​ไป​สู่​บริเวณ​ที่​มี​ความ​เข้ม​ข้น​ของ​สาร​นั้น​สูง ซึ่ง​เป็น​ทิศทาง​ตรง​กัน​ข้าม​กับ​การ​แพร่ ใน​กระบวนการ​
ลำ�เลียงน​ ี้​ต้องใ​ช้พ​ ลังงาน ATP ที่​ได้​มา​จากก​ ระบวนการเ​มแ​ ทบ​อล​ ิซ​ ึม​ของเ​ซลล์ เช่น จากก​ ระบวนการ​หายใจ​
ระดับเ​ซลล์ และ​ต้องอ​ าศัยต​ ัว​พา​เหมือนก​ ับ​กลไกก​ าร​แพร่แ​ บบ​ฟา​ซิล​ ิเ​ทต ตัวอย่าง เช่น โพแทสเซียม​ไอออน​
รอ้ ยล​ ะ 98 อยภู​่ ายในเ​ซลล์ และร​ อ้ ยล​ ะ 2 อยใู​่ นส​ ารละลายภ​ ายนอกเ​ซลล์ เซลลต​์ อ้ งค​ วบคมุ ใ​หค​้ วามเ​ขม้ ข​ น้ ข​ อง​
โพแทสเซยี มไ​อออนใ​นเ​ซลลใ​์ หส​้ งู อ​ ยตู​่ ลอดเ​วลา เมือ่ โ​พแทสเซยี มไ​อออนใ​นเ​ซลลม​์ ร​ี ะดบั ล​ ดล​ ง เซลลจ​์ ะล​ �ำ เลยี ง​
โพแทสเซียมไ​อออน​จากส​ ารละลายภ​ ายนอกเ​ซลล์เ​ข้าม​ า​ใน​เซลล์​โดย​วิธี​การ​ลำ�เลียง​แบบใ​ช้พ​ ลังงานน​ ั่นเอง

3. 	การล​ �ำ เลยี งโ​ดย​การ​สร้างถ​ ุงจ​ าก​เยือ่ ​ห้มุ ​เซลล์

       เยื่อ​หุ้ม​เซลล์​มี​สมบัติ​ที่​สามารถ​เปลี่ยนแปลง​รูป​ร่าง​โดย​การ​รวม​ตัว​กัน​หรือ​แยก​ตัว​ออก​จาก​กัน​ได้
สมบัติ​นี้​เอง​ทำ�ให้​เซลล์​ลำ�เลียง​สารประกอบ​โมเลกุล​ใหญ่​ได้ การ​ลำ�เลียง​แบบ​นี้​แบ่ง​ได้​เป็น 2 ชนิด คือ การ​
ลำ�เลียงเ​ข้า​เซลล์ (endocytosis) และ​การ​ลำ�เลียง​ออก​จาก​เซลล์ (exocytosis)

       3.1 	การ​ลำ�เลียง​เข้า​เซลล์ เซลล์​จะ​สร้าง​ถุง​ที่​เกิด​จาก​การ​เว้า​เข้าไป​ของ​เยื่อ​หุ้ม​เซลล์​เอง ห่อ​หุ้ม​สาร​ที่​
ตอ้ งการล​ �ำ เลยี งไ​ว้ แลว้ ถ​ งุ ท​ มี​่ ส​ี ารน​ จี​้ ะแ​ ยกต​ วั ห​ ลดุ อ​ อกจ​ ากเ​ยือ่ ห​ ุม้ เ​ซลล์ ตวั อยา่ งเ​ชน่ การก​ นิ อ​ าหารข​ องอ​ ะมบี า
และก​ ารท​ ี่​เม็ด​โลหิตข​ าว​ป้องกัน​หรือก​ ลืนก​ ินเ​ชื้อ​โรคต​ ่างๆ ไม่​ให้ท​ ำ�​อันตราย​แก่​ร่างกาย​ได้ ซึ่ง​เรียกอ​ ีก​ชื่อห​ นึ่ง​
ว่า ฟาโ​กไ​ซ​โท​ซิส (phagocytosis)
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67