Page 61 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 61

กระบวนการด​ ำ�รง​ชีวิต 2-51

       ใน​ภาวะ​ปกติ​เซลล์​ร่างกาย​ถูก​ล้อม​รอบ​ด้วย​ของเหลว​นอก​เซลล์ ถ้า​สารละลาย​ภายนอก​เซลล์​มี​
ความ​ดัน​ออ​ส​โม​ติก​เท่ากับ​สารละลาย​ภายใน​เซลล์ เรียก​ว่า​เซลล์​นั้น​อยู่​ใน​สภาวะ​แวดล้อม​ที่​เป็น​ไอ​โซ​โท​นิก
(isotonic) เซลล์น​ ั้นจ​ ะ​มีป​ ริมาตรค​ งที่ ถ้า​สารละลายภ​ ายนอกเ​ซลล์​มี​ความด​ ันอ​ อส​ ​โม​ติก​มากกว่า​สารละลาย​
ภายในเ​ซลล์ เรียกว​ ่าเ​ซลล์น​ ั้นอ​ ยู่ใ​นส​ ารละลายท​ ี่เ​ป็นไ​ฮเ​พอ​ ร์โ​ทน​ ิก (hypertonic) นั่นค​ ือ สารละลายภ​ ายนอก​
เซลล์​มีค​ วามเ​ข้มข​ ้นข​ องต​ ัวถ​ ูก​ละลายม​ ากกว่าภ​ ายในเ​ซลล์ ทำ�ให้​นํ้า​แพร่​ออก​จาก​เซลล์​สู่ส​ ารละลาย​ภายนอก​
เซลล์ เซลล์​นั้น​จะ​เหี่ยว ถ้า​สารละลาย​ภายนอก​เซลล์​มี​ความ​ดัน​ออ​ส​โม​ติกน้อ​ยก​ว่า​สารละลาย​ภายใน​เซลล​์
เรียก​สารละลาย​นี้​ว่า ไฮโ​พโ​ทน​ ิก (hypotonic) และน​ ํ้าจ​ ะ​แพร่​จาก​สารละลาย​ภายนอกเ​ข้าส​ ู่เ​ซลล์ท​ ำ�ให้​เซลล์​
พองต​ ัว​หรือ​เต่งข​ ึ้น เซลล์ร​ ่างกายส​ ามารถร​ ักษาส​ ภาวะส​ มดุล​ไว้​ได้เ​นื่องจากภ​ ายในเ​ซลล์​มี​ความด​ ันอ​ อส​ โ​ม​ติก​
เท่ากับ​ของเหลว​นอกเ​ซลล์ นั่น​คือ​เซลล์​ร่างกายอ​ ยู่​ในส​ ารละลาย​ที่เ​ป็นไ​อโ​ซ​โท​นิก​ นั่นเ​อง

       หาก​เซลล์​อยู่​ใน​สาร​ละ​ลาย​ไฮ​โพ​โท​นิก กา​รออส​โม​ซิส​จะ​เกิด​ขึ้น​เรื่อยๆ ทำ�ให้​เกิด​แรง​ดัน​ใน​เซลล์​
เนื่องม​ าจ​ ากโ​มเลกุล​ของ​นํ้า​แพร่เ​ข้าไปใ​นเ​ซลล์ แรง​ดันท​ ี่​เกิดข​ ึ้น​ในเ​ซลล์​นี้ เรียก​ว่า แรงด​ ัน​ความ​เต่ง (turgor
pressure) เมื่อม​ แี​ รงด​ ันค​ วามเ​ต่งเ​กิดข​ ึ้นม​ ากอ​ าจท​ ำ�ใหเ้​ซลลแ์​ ตกไ​ดเ้​นื่องจากเ​ยื่อห​ ุ้มเ​ซลลไ์​มส่​ ามารถต​ ้านทาน​
แรงด​ ันค​ วาม​เต่งไ​ด้

       สิ่งม​ ีช​ ีวิตท​ ั้งพ​ ืชแ​ ละส​ ัตว์ท​ ี่อ​ ยู่ใ​นน​ ํ้าต​ ลอดเ​วลาน​ ั้นม​ ีว​ ิธีก​ ารแ​ ก้ป​ ัญหาต​ ่างก​ ัน คือ สำ�หรับพ​ ืชท​ ี่อ​ ยู่ใ​นน​ ํ้า​
จืด เช่น สาหร่าย พบ​ว่า​ภายในเ​ซลล์​มีค​ วาม​เข้ม​ข้น​ของ​นํ้า​น้อยก​ ว่าภ​ ายนอกเซลล์ คือ อยู่​ใน​สารละลาย​ที่เ​ป็น​
ไฮโ​พ​โทน​ ิก ดัง​นั้น นํ้าจ​ ะแ​ พร่เ​ข้าไปใ​นเ​ซลล์จ​ น​เกิด​แรงด​ ัน​ความ​เต่ง แต่​แรง​ดัน​นี้ไ​ม่​ทำ�ให้เ​ซลล์แ​ ตกเ​นื่องจาก​
เซลล์พ​ ืชม​ ีผ​ นังเ​ซลล์ซ​ ึ่ง​สามารถต​ ้านทาน​แรง​ดัน​ความเ​ต่งน​ ี้​ได้

       สงิ่ ม​ ช​ี วี ติ เ​ซลลเ​์ ดยี วท​ อ​ี่ ยใ​ู่ นน​ าํ้ จ​ ดื เชน่ โพรโ​ทซวั ไมม่ ผ​ี นงั เ​ซลล์ มช​ี วี ติ อ​ ยใ​ู่ นส​ ารละลายท​ เ​ี่ ปน็ ไฮโ​พโ​ทน​ กิ ​
กล่าว​คือ นํ้า​จาก​สิ่ง​แวดล้อม​ภายนอก​จะ​เข้าไป​ใน​เซลล์​อยู่​เรื่อยๆ แต่​เกิด​แรง​ดัน​ความ​เต่ง​น้อย​มาก ทั้งนี้​
เพราะเ​ซลล์ม​ ีโ​ครงสร้างท​ ี่ส​ ามารถก​ ำ�จัดน​ ํ้าท​ ี่ม​ ากเ​กินไ​ปอ​ อกจ​ ากเ​ซลล์ไ​ด้ ตัวอย่าง เช่น อะมีบาม​ ีโ​ครงสร้างเ​ป็น​
ถุง​ซึ่งม​ ีหน้าท​ ี่​เก็บ​สะสม​นํ้าท​ ี่เ​ข้าไป​ในเ​ซลล์ (contractile vacuole) เมื่อ​นํ้า​เต็มถ​ ุง​แล้ว​อะมีบา​จะ​หด​ตัวด​ ัน​นํ้า​
ให้ไ​หล​ออก​มา​ภายนอก​โดยผ​ ่านท​ างเ​ยื่อห​ ุ้ม​เซลล์

       พืชน​ ํ้าจ​ ืดห​ ากใ​ส่​ลงไ​ป​ใน​นํ้า​ทะเล เซลล์พ​ ืช​จะเ​หี่ยว​เนื่องจากส​ ูญ​เสีย​นํ้า ทั้งนี้​เพราะ​นํ้า​ทะเลม​ ี​ความ​
เข้ม​ข้น​ของ​สารละลาย​มากกว่า​หรือ​มี​ความ​เข้ม​ข้น​ของ​นํ้า​น้อย​กว่า​ใน​เซลล์ ดัง​นั้น นํ้า​จะ​แพร่​ออก​จาก​เซลล์
นํ้า​ทะเล​จึง​เป็น​สาร​ละ​ลาย​ไฮ​เพ​อร์​โท​นิก​ต่อ​เซลล์​เมื่อ​นํ้า​ออก​จาก​เซลล์​มากๆ เซลล์​จะ​หด​ตัว​โดย​ไซ​โท​พลา​ซึม​
จะ​แยก​จาก​ผนังเ​ซลล์ เรียกป​ รากฏการณ์​นี้ว​ ่า พลาสโ​มไลซ​ ิส (plasmolysis)

       1.2 	ได​อะไล​ซิส หมาย​ถึง การ​แพร่​ของ​ตัว​ถูก​ละลาย​ผ่าน​เยื่อ​หุ้ม​เซลล์​จาก​บริเวณ​ที่​มี​ความ​เข้ม​ข้น​
ของ​ตัว​ถูก​ละลาย​สูง​ไป​ยัง​บริเวณ​ที่​มี​ความ​เข้ม​ข้น​ของ​ตัว​ถูก​ละลาย​ตํ่า​กว่า อัตรา​การ​แพร่​ของ​ตัว​ถูก​ละลาย​
ขึ้น​อยู่​กับ​ขนาด​และ​นํ้า​หนัก​โมเลกุล และ​การ​แตก​ตัว​เป็น​ไอออน​ของ​ตัว​ถูก​ละลาย ตัวอย่าง เช่น โซเดียม​
ไอออน คลอไ​รดไ์​อออน และก​ ลูโคส สามารถแ​ พรเ่​ข้าอ​ อกจ​ ากเ​ซลลไ์​ดง้​ ่ายแ​ ละร​ วดเร็ว ในข​ ณะท​ ีโ่​ปรตีนซ​ ึ่งเ​ป็น​
​สาร​โมเลกุล​ใหญ่ไ​ม่​สามารถแ​ พร่ผ​ ่าน​ได้
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66