Page 59 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 59
กระบวนการด ำ�รงชีวิต 2-49
กรดอะมิโนหลายชนิดจะถูกดึงหมู่อะมิโน (deaminated) ในหลอดไตฝอยส่วนปลาย ผลิตผลที่
โเกปิดรตขึ้นอนอ ยเพ่าื่องหเปนลึ่งี่ยไนดเป้แก็น่แแออมมโโมมเนเนียียมไ(NออHอ3น) เมื่อแ อมโมเนียถ ูกห ลั่งออกม าในนํ้ากรองของท ่อไต จะรวมก ับ
(NH+4) ซึ่งจะถ ูกข ับออกในป ัสสาวะต ่อม า
NH3 + H+ NH+4 (ขับอ อกม าในปัสสาวะ)
เช่นเดียวกัน ไฮโดรเจนไอออนจะถ ูกด ักจ ับและขับอ อกจ ากร ะบบโดยก ารร วมกับสารอื่นๆ
ไฮโดรเจนไอออนท ีไ่ตห ลั่งอ อกม า ส่วนห นึ่งอ ยูใ่นร ูปข องก รดท ีท่ ำ�ป ฏิกิริยาพ อดกี ับเบส แตส่ ่วนใหญ่
(HCO3- )
ที่หลั่งออกมาเกือบทั้งหมดนั้น เพื่อการดูดกลับของไบคาร์บอเนต ส่วนน้อยที่เหลือของไฮโดรเจน
ไอออนที่ไตหลั่งอ อกนั้นจะอยู่ในร ูปข อง แอมโมเนียมไอออน
เซลล์บุหลอดไตผลิตแอมโมเนียจากกรดอะมิโนโดยเฉพาะกลูตามีน ถ้าแอมโมเนียแพร่เข้าสู่
สารละลายในหลอดไตที่เป็นกรดแล้วก็จะถูกเปลี่ยนเป็นแอมโมเนียมไอออนซึ่งแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
ได้ยาก การห ลั่งไฮโดรเจนไอออนแต่ละตัวท ี่จ ับก ับแอมโมเนียเป็นแอมโมเนียมไอออนจะเพิ่มไบค าร์บอเนต
ให้แก่พลาสมาเช่นเดียวกัน การหลั่งแอมโมเนียจากเซลล์บุหลอดไตเป็นกระบวนการที่สำ�คัญที่ไตจะกำ�จัด
กรดออกได้เป็นจำ�นวนมากโดยไม่ทำ�ให้ความเข้มข้นของไฮโดรเจนไอออนในหลอดไตสูงเกินไป เพราะการ
หลั่งไฮโดรเจนไอออนจ ากเซลล์จ ะหยุดลงห าก pH ในป ัสสาวะตํ่ากว่า 4.5
การห ลัง่ แ อมโมเนียจ ากเซลลเ์ ปน็ กร ะบ วนก ารแ พรธ่ รรมดาท ีไ่ มใ่ ชพ้ ลังงาน อัตราก ารห ลัง่ แ อมโมเนยี
ส่วนหนึ่งจึงขึ้นอยู่กับภาวะกรดของสารละลายในหลอดไต แต่อย่างไรก็ดีปรากฏว่า หากพลาสมามีสภาวะ
เป็นกร ด การผ ลิตแ อมโมเนียภ ายในเซลลจ์ ะเพิ่มข ึ้นถ ึงแ ม้ว่าจ ะไมร่ วดเร็วแ ตเ่ป็นกร ะบ วนก ารท ีม่ คี วามส ำ�คัญ
มาก ในค นไข้ที่เป็นโรคไตบ างชนิดที่ผลิตแอมโมเนียเพิ่มไม่ได้ ความสามารถของร่างกายในก ารป รับส ภาวะ
กรดเบสจ ะลดลงท ำ�ให้ทนส ภาวะที่ได้ร ับก รดเพิ่มม ากไม่ได้
สรุปว่าไตมีหน้าที่สำ�คัญในการช่วยควบคุมภาวะกรดเบสของร่างกาย โดยการรักษาระดับ
ไบค ารบ์ อเนตในพ ลาสมาใหส้ งู อ ยูเ่สมอโดยก าร ดูดไบค าร์บอเนตก ลบั จ ากส ารละลายในห ลอดไต และโดยก าร
หลัง่ ไฮโดรเจนไอออน นอกจากน ยี้ งั ก ำ�จดั ไฮโดรเจนไอออนอ อกจ ากร า่ งกายในร ปู ข องก รดอ ืน่ และแ อมโมเนยี ม
ไอออน แต่กระบวนการปรับสภาวะกรดเบสของร่างกายเกิดขึ้นช้ากว่าการปรับโดยสารบัฟเฟอร์ในร่างกาย
และการหายใจออกซึ่งควบคุมระดับกรดคาร์บอนิกในพลาสมาให้อยู่ในอัตราส่วนที่จะทำ�ให้ pH มีค่าคงตัว
ตลอดเวลา
หลังจากศึกษาเนื้อหาส าระเรื่องที่ 2.2.1 แล้ว โปรดป ฏิบัติก ิจกรรม 2.2.1
ในแนวก ารศึกษาหน่วยท ี่ 2 ตอนที่ 2.2 เรื่องที่ 2.2.1