Page 54 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 54
2-44 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ไม่ได้ หลอดไตทุกส่วนมีความส ำ�คัญในการด ูดโซเดียมค ลอไรด์ที่ถ ูกกรองกลับส ู่ก ระแสโลหิต แต่อ ัตราก าร
ดูดกลับนี้ไม่คงที่ สามารถแปรเปลี่ยนได้ภายใต้อิทธิพลของฮอร์โมนอัลโดสเตอโรนจากต่อมหมวกไตส่วน
นอกและสภาวะการท ำ�งานของไต
การควบคุมสมดุลของโซเดียมในร่างกายขึ้นอยู่กับการขับโซเดียมออกทางไตซึ่งเกิดขึ้น
ค่อนข้างช้า ไตไม่สามารถกำ�จัดโซเดียมได้เร็วเท่ากับที่รับประทานเข้าไป แต่เนื่องจากโซเดียมในร่างกาย
ทั้งหมดไม่ได้อ ยู่ในข องเหลวน อกเซลล์เพียงแ หล่งเดียว ร่างกายย ังม ีโซเดียมส ำ�รองในโครงสร้างท ี่ค ล้ายผ ลึก
ของก ระดูก ดังน ั้น หากไดร้ ับห รือส ูญเสียโซเดียมในอ ัตราท ีไ่มเ่ร็วจ นเกินไปน ัก โซเดียมท ีไ่ดร้ ับม ากข ึ้นอ าจจ ะ
ถูกสะสมไว้ในก ระดูกได้บ ้าง หรือโซเดียมในกระดูกอ าจจะล ะลายอ อกมาทดแทนได้ทัน ทำ�ให้ร ะดับโซเดียม
ในของเหลวน อกเซลล์ไม่เปลี่ยนแปลง
1.1.3 การควบคุมนํ้าของร่างกาย การเพิ่มความเข้มข้นของนํ้านอกเซลล์จะทำ�ให้นํ้าออกจาก
เซลลม์ าท ขี่ องเหลวร ะหวา่ งเซลล์ การล ดป รมิ าตรในห ลอดโลหติ จ ะล ดบ ทบาทข องต วั ร บั ก ารบ วมพ อง (disten-
sion receptor) ซึง่ อ ยทู่ หี่ วั ใจห อ้ งบ น หลอดโลหติ แ ดงล งส ปู่ อดล า่ ง (inferior vena cava) และห ลอดโลหติ ด �ำ
ปอด (pulmonary veins) และลดบ ทบาทของหน่วยร ับค วามด ันโลหิต (blood pressure receptors) ที่อ ยู่
ทีห่ ลอดโลหิตแ ดงใหญ่ (aorta) และห ลอดโลหิตค อ (carotid arteries) การส ่งต ่อข ้อมูลด ังก ล่าวจ ะถ ่ายทอด
ไปท ี่ร ะบบป ระสาทส ่วนก ลาง (central nervous system, CNS) แล้วกร ะต ุ้นเซลล์ป ระสาทบ ริเวณก ารร ับน ํ้า
เขา้ แ ละก ารข บั น ํา้ อ อกข องส มอ งส ว่ นไฮโพท าล ามสั แองจ โิ อเทนซ นิ II ทหี่ มนุ เวยี นอ ยใู่ นก ระแสโลหติ จ ะก ระตุน้
เซลลป์ ระสาทบ ริเวณค วบคุมข องน ํ้าน ีข้ องไฮโพท าล ามสั โดยตรง การกร ะต ุ้นเซลลป์ ระสาทบ ริเวณร ับน ํ้าเข้าจ ะ
ทำ�ใหเ้กิดค วามร ู้สึกก ระหายน ํ้าแ ล้วกร ะต ุ้นใหร้ ่างกายร ับน ํ้าเข้าม า การกร ะต ุ้นเซลลป์ ระสาทบ ริเวณข ับน ํ้าอ อก
เป็นผลให้มีก ารห ลั่งฮ อร์โมนแอนไทไดย ูเรติกจากต ่อมใต้สมองส ่วนห ลัง (posterior pituitary gland) ซึ่ง
ฮอร์โมนแ อนไทไดย ูเรต ิกจ ะกระตุ้นก ารด ูดซ ึมน ํ้าก ลับในท ่อไตร วมเป็นผ ลให้ป ัสสาวะม ีค วามเข้มข ้นไฮเพอ ร์-
โทนิก (hypertonic urine) ลดการขับนํ้าที่ปราศจากต ัวถ ูกล ะลายออก กระบวนการค วบคุมต่างๆ ดังก ล่าว
นี้จ ะร ่วมก ันค วบคุมก ารรับนํ้าเข้าและก ารข ับนํ้าออก เพื่อให้ร ่างกายมีสมดุลของน ํ้าท ี่เหมาะส ม
1.1.4 การควบคุมโซเดียมของร่างกาย การรักษาสมดุลของโซเดียมโดยไตข้ึนอยู่กับกระบวน
การกรองและก ารดูดก ลับของโซเดียม ท ี่เนฟร อน ความเข้มข้นข องโซเดียมในของเหลวน อกเซลล์ไม่สามารถ
กระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการด ูดก ลับข องโซเดียมได้โดยตรง แต่ป ริมาตรของข องเหลวนอกเซลล์แ ละ
พลาสมาสามารถกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ นอกจากนี้การเพิ่มปริมาตรของพลาสมายังมีผลเพิ่ม
ความดันโลหิตด้วย ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทั้งในระบบไหลเวียนโลหิตโดยตรง ผ่านทาง
ระบบประสาท และผ่านทางระบบต่อมไร้ท่อ จนอัตราการกรองเพิ่มขึ้นเล็กน้อย นอกจากนี้ยังลดการหลั่ง
ฮอร์โมนอ ัลโดส เตอโรนจ ากต ่อมห มวกไตส ่วนน อก (adrenal cortex) ลงด ้วย อัตราก ารด ูดก ลับข องโซเดียม
ในห ลอดไตจะล ดล ง ผลด ังกล่าวท ั้งส องจ ะเพิ่มก ารขับโซเดียมอ อกท างปัสสาวะ ทั้งจะล ดป ริมาตรข องโลหิต
และข องเหลวน อกเซลล์ล งด ้วย แต่ก ารเปลี่ยนแปลงเหล่าน ี้ใช้เวลาห ลายช ั่วโมงจ นถึงห ลายว ันก ว่าร ่างกายจ ะ
สามารถก ำ�จัดโซเดียมท ี่ร ่างกายได้รับเพิ่มมากขึ้นออกจากร ่างกายจนก ลับสู่ภาวะสมดุลด ังเดิมอ ีก