Page 56 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 56

2-46 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ถ้าข​ องเหลวน​ อกเ​ซลล์​มี​ภาวะเ​ป็นเ​บส ร่างกายจ​ ะ​เสีย​โพแทสเซียม​ไป​กับป​ ัสสาวะเ​พิ่มข​ ึ้น นอกจากส​ ภาวะข​ อง​
เซลล์แ​ ล้วอ​ ัตราก​ ารไ​หลข​ องส​ ารละลายใ​นห​ ลอดไ​ตย​ ังม​ ีอ​ ิทธิพลต​ ่อก​ ารข​ นส่งโ​พแทสเซียม​ด้วย เช่น ในก​ รณีท​ ี​่
เกิดก​ ารผ​ ลิตป​ ัสสาวะ​มากเ​นื่องจาก​ยา​ขับป​ ัสสาวะ​บาง​ชนิด อัตรา​การไ​หลข​ องส​ ารละลาย​ใน​หลอด​ไต​จะส​ ูงข​ ึ้น
ร่างกาย​สูญ​เสีย​โพแทสเซียม​เพิ่ม​ขึ้น​เนื่องจาก​ไม่มี​เวลา​ให้​เซลล์บุ​หลอด​ไต​ส่วน​ต้น​ขนส่ง​โพแทสเซียม​เข้า​สู่​
ร่างกายใ​นจ​ ำ�นวนม​ ากข​ ึ้น นอกจากน​ ี้​ฮอร์โมนอ​ ัลโ​ดส​ เ​ตอโ​รนส​ ามารถก​ ระตุ้นใ​ห้เ​ซลล์บ​ ุห​ ลอดไ​ตเ​ร่งก​ ารข​ นส่ง​
โพแทสเซียม​โดย​ใช้​พลังงาน​เข้า​เซลล์​เพิ่ม​ขึ้น​ด้วย ทั้ง​ยัง​มี​ผล​เปลี่ยน​สมบัติ​ของ​เยื่อ​หุ้ม​เซลล์​ให้​โพแทสเซียม​
แพร่ผ​ ่านไ​ด้ง​ ่ายข​ ึ้น ทำ�ให้​การ​หลั่ง​โพแทสเซียมเ​พิ่ม​ขึ้น เมื่อ​ระดับ​ฮอร์โมน​นี้ส​ ูง ร่างกายจ​ ะเ​สียโ​พแทสเซียมไ​ป​
กับป​ ัสสาวะ​มาก​ขึ้น ดังน​ ั้น ร่างกายจ​ ะข​ จัด​โพแทสเซียม​ออกม​ ากน​ ้อยเ​พียง​ไรจ​ ึง​ขึ้น​อยู่ก​ ับก​ าร​ดูด​ซึมก​ ลับแ​ ละ​
การข​ ับอ​ อกข​ อง​โพแทสเซียม​ที่​หลอด​ไต​ส่วนป​ ลายแ​ ละ​ท่อ​ไตร​ วม​เป็น​สำ�คัญ

       การ​ควบคุม​สมดุลข​ องโ​พแทสเซียม​นอก​เซลล์ถ​ ูกค​ วบคุมโ​ดย​ไต​เป็น​ส่วน​ใหญ่ ใน​ไต​โพแทสเซียม​ที​่
ถูกก​ รองจ​ ะถ​ ูกด​ ูดซ​ มึ ก​ ลับเ​กือบท​ ัง้ หมดใ​นห​ ลอดไ​ตส​ ่วนต​ ้น การห​ ลัง่ โ​พแทสเซียมบ​ างส​ ว่ นแ​ บบใ​ชพ้​ ลังงานเ​กิด​
ขึ้นใ​น​เซลล์​บริเวณ​ปลายขอ​ งห​ ลอดไ​ตค​ อนโ​วล​ ู​เต็ดส​ ่วน​ปลาย (distal part of convoluted tubules) ส่วน​
การ​ขับ​โพแทสเซียม​ออก​นั้น​เป็นก​ระ​บวน​การ​แพร่​แบบ​ธรรมดา การ​ดูด​ซึม​กลับ​แบบ​ใช้​พลังงาน​จะ​ทำ�ให้​เกิด​
ศักย์​ไฟฟ้า​ของ​เยื่อ​หุ้ม​เซลล์ ซึ่ง​จะ​ถูก​ทำ�ให้​เป็นก​ลาง​โดย​การ​เคลื่อน​ย้าย​โพแทสเซียม​และ​ไฮโดรเจน​ไอออน​
จาก​เซลล์​หลอด​ไต​ไปย​ ัง​ช่องใ​นห​ ลอดไ​ตห​ รือ​ลูเ​มน (lumen) ดังน​ ั้น การ​ขับ​โพแทสเซียม​ออกท​ างป​ ัสสาวะ​จึง​
ขึ้นก​ ับ​ปัจจัย​ต่างๆ ดังนี้

            1) 	ปริมาณ​ของ​โซเดียม​ที่​มี​อยู่​เพียง​พอ​ต่อ​การ​ดูด​ซึม​กลับ​ไป​ภายใน​เซลล์​ของ​หลอด​ไต​ส่วน​
ปลายแ​ ละ​ท่อ​ไต​รวม

            2) 	ปริมาณไ​ฮโดรเจนไ​อออนแ​ ละโ​พแทสเซียมใ​นเ​ซลล์ข​ องห​ ลอดไ​ตส​ ่วนป​ ลายแ​ ละท​ ่อไ​ตร​ วม​
ที่เ​พียงพ​ อ

            3) 	ความส​ ามารถข​ องเ​ซลลข​์ องห​ ลอดไ​ตส​ ว่ นป​ ลายแ​ ละท​ อ่ ไ​ตร​ วมใ​นก​ ารห​ ลัง่ ไ​ฮโดรเจนไ​อออน​
ออก​จาก​เซลล์

            4) 	ความ​เข้มข​ ้น​ของฮ​ อร์โมน​อัลโ​ดส​ เ​ตอ​โรน
            5)	 อัตรา​การ​ไหล​ของ​สารละลาย​ใน​หลอด​ไต อัตรา​การ​ไหล​ที่​สูง​มี​แนว​โน้ม​ที่​จะ​เคลื่อน​ย้าย​
โพแทสเซียม​ไปใ​นล​ ูเ​มน​ของท​ ่อ​ไต
       อัล​โด​ส​เตอ​โรน​จะ​กระตุ้น​การ​ขับ​โพแทสเซียม​ออก​ได้​ทั้ง​ทาง​ตรง​และ​ทาง​อ้อม ทาง​ตรง​โดย​การ​เพิ่ม​
การ​หลั่ง​โพแทสเซียม​แบบ​ใช้​พลังงาน​เข้าไป​ใน​เซลล์​บริเวณ​ปลายข​อง​หลอด​ไต​คอน​โว​ลู​เต็ด​ส่วน​ปลาย​และ​
ท่อไต​รวม ส่วน​ทาง​อ้อม​โดย​การ​เพิ่ม​การ​ดูด​ซึม​โซเดียม​กลับ​แบบ​ใช้​พลังงาน​เข้าไป​ใน​หลอด​ไต​ส่วน​ปลาย​
และ​ท่อ​ไต​รวม อัล​โด​ส​เตอ​โรน​จะ​ถูก​กระตุ้น​โดย​ทาง​ตรง​จาก​ระดับ​ความ​เข้ม​ข้น​ของ​โพแทสเซียม​ใน​โลหิต​
สูง (hyperkalemia) และท​ างอ​ ้อม​โดยท​ ำ�​ให้ร​ ะบบ​เร​นินแ​ อง​จิโ​อเ​ทน​ซินต​ อบ​สนอง​ต่อ​ปริมาตรโ​ลหิต​ที่​ลด​ลง
(hypovolemia)
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61