Page 52 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 52

2-42 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

เรือ่ งท​ ่ี 2.2.1 การร​ กั ษา​สมดลุ ข​ อง​รา่ งกาย

       การร​ ักษาส​ มดุลข​ องร​ ่างกายเ​กี่ยวข้องก​ ับก​ ารค​ วบคุมน​ ํ้าแ​ ละเ​กลือแ​ ร่ใ​นร​ ่างกาย ซึ่งป​ ระกอบด​ ้วยก​ าร​
ควบคุม​สมดุลข​ อง​นํ้า สมดุล​ของโ​ซเดียม การ​ควบคุมค​ วาม​เข้มข​ ้น​ของ​โพแทสเซียม​ในร​ ่างกาย การ​ควบคุม​
กรดเ​บสใ​น​ร่างกายโ​ดยก​ ารห​ ายใจ และโ​ดย​ไต

1. 	การค​ วบคุมน​ าํ้ แ​ ละเ​กลอื แ​ รใ่​นร​ า่ งกาย

       ในแ​ ต่ละว​ ันร​ ่างกาย​ได้​รับน​ ํ้าจ​ าก​การด​ ื่ม​นํ้า อาหาร และ​เม​แทบ​อล​ ิ​ซึม ใน​ขณะเ​ดียวกัน ร่างกาย​ก็ข​ ับ​
นํ้า​ออก​ทาง​ผิวหนัง การ​หายใจ อุจจาระ และ​ปัสสาวะ ใน​แต่ละ​วัน​มี​ปริมาณ​นํ้า​หมุนเวียน​ใน​ร่างกาย​ผู้ใหญ่​
ประมาณ 2,500 มิลลิลิตร เพื่อ​รักษา​สมดุลร​ ่างกายจ​ ะต​ ้องม​ ีก​ าร​กำ�จัด​นํ้าอ​ อก​ใน​อัตราเ​ดียวกัน การก​ ำ�จัดน​ ํ้า​
ออกท​ างผ​ ิวหนัง การห​ ายใจ และอ​ ุจจาระน​ ั้นเ​กิดข​ ึ้นใ​นอ​ ัตราท​ ี่แ​ ปรต​ ามส​ ภาวะข​ องร​ ่างกายซ​ ึ่งม​ ิได้ข​ ึ้นก​ ับส​ มดุล​
ของน​ ํ้า แต่​อัตรา​การ​ผลิตป​ ัสสาวะ​นั้นส​ ามารถเ​ปลี่ยนแปลง​ได้​อย่าง​มาก การค​ วบคุม​การ​ผลิต​ปัสสาวะจ​ ึง​เป็น​
กร​ ะ​บวนก​ ารส​ ำ�คัญ​ในก​ ารค​ วบคุมส​ มดุลข​ องน​ ํ้า​ใน​ร่างกาย

       ใน​แต่ละ​วัน​ร่างกาย​จะ​ได้​รับ​โซเดียม​จาก​อาหาร​เพียง​แหล่ง​เดียว โซเดียม​ที่​ร่างกาย​ได้​รับ​นี้​ใน​ที่สุด​
จะ​ต้อง​ถูก​ขับ​ออก​จาก​ร่างกาย​เพื่อ​ที่​จะ​รักษา​สมดุล​ของ​โซเดียม​ใน​ร่างกาย​ไว้ หาก​ร่างกาย​ได้​รับ​โซเดียม​ใน​
ปรมิ าณม​ าก เชน่ การร​ บั ป​ ระทานอ​ าหารร​ สเ​คม็ จ​ ดั เ​ปน็ เ​วลาน​ าน จะร​ ูส้ กึ ก​ ระหายน​ ํา้ แ​ ละม​ ก​ี ารข​ บั ป​ สั สาวะน​ อ้ ยล​ ง​
ทำ�ให้ม​ ีก​ ารเ​พิ่มป​ ริมาณ​นํ้า​ใน​ของเหลว​นอก​เซลล์ ซึ่งถ​ ้า​เพิ่ม​เป็น​ระยะเ​วลา​นาน​อาจจ​ ะ​ทำ�ให้​ความด​ ัน​โลหิตส​ ูง​
ได้​หาก​ไต​กำ�จัด​โซเดียม​ออก​ไม่​เร็ว​พอ ใน​ทาง​ตรง​ข้าม หาก​ร่างกาย​ได้​รับ​โซเดียม​น้อย​เกิน​ไป​เป็น​ระยะ​เวลา​
นานจ​ ะม​ ีผ​ ลใ​ห้ค​ วามเ​ข้มข​ ้นข​ อง โซเดียมใ​นข​ องเหลวน​ อกเ​ซลล์ล​ ดล​ ง ทั้งป​ ริมาตรข​ องข​ องเหลวน​ อกเ​ซลล์แ​ ละ​
พลาสมา​ลดล​ ง​จน​อาจจ​ ะ​เป็น​อันตรายถ​ ึงแก่ช​ ีวิตไ​ด้

       1.1 การค​ วบคมุ ​ปรมิ าณ​นํา้ ​และโ​ซเดยี ม​ในร​ า่ งกาย*
            1.1.1 สมดุล​ของ​น้ํา การ​รักษา​สมดุล​ของ​นํ้า​ใน​ร่างกาย​มี​ความ​สำ�คัญ​มาก การ​เปลี่ยนแปลง​

สมดุล​ของ​นํ้า​จะ​ทำ�ให้​นํ้า​หนัก​ของ​แต่ละ​บุคคล​เปลี่ยนแปลง​ตาม ทั้ง​ยัง​มี​ผล​ต่อ​ปริมาตร​ของ​โลหิต​จน​ระบบ​
ไหลเวียนโ​ลหิตอ​ าจไ​ด้ร​ ับค​ วามก​ ระทบก​ ระเทือนแ​ ละเ​ป็นอ​ ันตรายถ​ ึงแก่ช​ ีวิตไ​ด้ แต่ก​ ารร​ ักษาส​ มดุลข​ องน​ ํ้าไ​ม​่
สามารถเ​กิดข​ ึ้นไ​ด้เ​ป็นเ​อกเทศเ​พราะห​ ากป​ ริมาณน​ ํ้าใ​นข​ องเหลวน​ อกเ​ซลล์ไ​ม่ไ​ด้ส​ ัดส่วนพ​ อเ​หมาะก​ ับป​ ริมาณ​
โซเดียมจ​ ะเ​ป็น​ผลใ​ห้​ปริมาตรข​ องเ​ซลล์​เปลี่ยนแปลงไ​ปอ​ ย่างร​ วดเร็ว

            กระบวนการ​รักษา​สมดุล​ของ​นํ้า​ใน​ร่างกาย​ที่​สำ�คัญ คือ การ​ปรับ​ปริมาตร​นํ้า​ใน​ร่างกาย​ให้​ได้​
สัดส่วนก​ ับป​ ริมาณโ​ซเดียม เ​มื่อด​ ื่มน​ ํ้าม​ ากป​ ริมาณน​ ํ้าใ​นร​ ่างกายจ​ ะเ​พิ่มข​ ึ้น มีผ​ ลล​ ดก​ ารห​ ลั่งฮ​ อร์โมนแ​ อนไ​ท-​
ไดยู​เร​ติก (ADH) จาก​ต่อม​ใต้​สมอง​ส่วน​หลัง เมื่อ​ฮอร์โมน​แอน​ไทได​ยู​เร​ติก​ลด​ลง​เยื่อ​บุ​หลอด​ไต​ส่วน​ปลาย​

         * รวบรวมแ​ ละเ​รียบเ​รียงจ​ าก สุรเ​ดช ประดษิ​ ฐบ​ าทุกา (2542) “การควบคุมสารละลายในร่างกาย” ใน เอกสารการสอนชุดวิชา
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ หน่วยที่ 7 หน้า 415-473 นนทบุรี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57