Page 48 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 48
2-38 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ในสิ่งม ีชีวิตช ั้นส ูง การบรรจุ DNA ให้อ ยู่ภ ายในเซลล์ได้นั้นม ีวิธีที่ซ ับซ้อน โดย DNA จะพ ัน
อยู่บ นโปรตีนขนาดเล็กท ี่ช ื่อว่า ฮิสโทน (histone) เป็นน ิวคลีโอโซม (nucleosome) มีลักษณะคล้ายสร้อย
ลูกปัด (beads on a string) เรียกว่า โครมาท ิน (chromatin) ดังภาพท ี่ 2.20
ภาพท ่ี 2.20 โครงสรา้ งข องน ิวโคลีโอโซม
RNA มโี ครงสรา้ งค ลา้ ยก บั DNA โดยม โี ครงสรา้ งในร ะดบั ท ตุ ยิ ภ มู แิ ละต ตยิ ภ มู ิ เนือ่ งจากเบส
คู่ส มบ นส าย RNA เดียวกันส ามารถเกิดพ ันธะไฮโดรเจนข ึ้นภ ายในส ายท ำ�ให้เกิดโครงร ูปเฉพาะต ัวข ึ้นได้ แต่
มีส ่วนท ี่แ ตกต ่างก ัน คือ RNA ประกอบด ้วย นํ้าต าลเพนโทสช นิดอ อกซ ีไรโบส แ ละเบสไพร ิม ิด ีน ที่เป็นย ูร าซ ิล
แทนไทม ีน และโดยทั่วไปจะพบ RNA ในแ บบท ี่เป็นส ายเดี่ยว (single strand)
2. กระบวนการสลายก รดน ิวค ลอี ิก*
เมื่อก รดน ิวคลีอิกมาถึงล ำ�ไส้เล็กส่วนต ้นจ ะถูกย่อยโดยเอนไซม์กลุ่มน ิวค ลีเอส (nuclease) ได้แก่
ดีออกซีไรโบนิวคลีเอส (deoxyribonuclease) ซึ่งย่อย DNA และไรโบนิวคลีเอส (ribonuclease) ซึ่ง
ย่อย RNA ทำ�ให้ DNA และ RNA มีขนาดสั้นลงเพื่อจะถ ูกย่อยต่อไปโดยเอนไซม์อื่นจากต ับอ ่อนและเซลล์
เยื่อบ ผุ นังล �ำ ไสจ้ นไดม้ อโนน ิวค ลโีอไทด์ มอโนน ิวค ลโีอไทดจ์ ะถ ูกย ่อยต ่อไปด ้วยเอนไซมก์ ลุ่มน ิวค ลโีอไทเดส
(nucleotidase) ได้นิวคลีโอไซด์ซึ่งประกอบด้วยนํ้าตาลและเบส เอนไซม์กลุ่มนิวคลีโอไซเดส (nucle-
osidase) จะย่อยนิวคลีโอไซด์ได้เบสที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ นํ้าตาลดีออกซีไรโบส และไรโบส
ซึ่งถ ูกดูดซึมเข้าส ู่ร่างกายได้
* รวบรวมแ ละเรียบเรียงจ าก ศริศ ักดิ์ สุนทรไชย (2548) “กระบวนการสลายและสร้างสารในสิ่งมีชีวิต” ใน เอกสารการสอน
ชุดวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน หน่วยที่ 14 หน้า 153-196 นนทบุรี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช