Page 45 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 45

กระบวนการด​ ำ�รงช​ ีวิต 2-35
                2) 	เบส​ไพร​ ​ิมิด​ ีน มี 3 ชนิด คือ ยู​ราซ​ ิล (uracil) ใช้อ​ ักษร​ย่อ U ไทม​ ีน (thymine) ใช​้
อักษรย่อ T และ​ไซโ​ทซ​ ีน (cytosine) ใช้อ​ ักษร​ย่อ C ไซโ​ท​ซีน​พบไ​ด้​ทั้งใ​น DNA และ RNA ส่วน​ไทม​ ีน​เป็น​
เบสท​ ี่พ​ บเ​ฉพาะ​ใน DNA และย​ ูร​ าซ​ ิลเ​ป็นเ​บส​ที่พ​ บเ​ฉพาะใ​น RNA โครงสร้าง​แบบว​ งข​ อง ยูร​ า​ซิล ไทม​ ีน และ
ไซโ​ทซ​ ีน แสดงใ​นภ​ าพท​ ี่ 2.16

                   ภาพ​ที่ 2.16 เบสพ​ วิ ร​ นี แ​ ละเ​บสไ​ พ​รมิ​ ิ​ด​ีนท่ีพ​ บ​ใน DNA และ RNA
            1.1.2 นา้ํ ต​ าลเ​พน​โทส เป็นน​ ํ้าตาล​ชนิดท​ ี่ม​ ีค​ าร์บอน 5 อะตอม นํ้า​ตาล​เพนโ​ทสใ​น DNA คือ
ดี​ออก​ซี​ไร​โบส (deoxyribose) นํ้า​ตาล​เพน​โทส​ใน RNA คือ ไร​โบส (ribose) นํ้าตาล​ทั้ง​สอง​มี​โครงสร้าง​
ต่างก​ ันท​ ี่ค​ าร์บอน​ตำ�แหน่ง​ที่ส​ อง​ดังแ​ สดง​ใน​ภาพท​ ี่ 2.17
            1.1.3 หมฟ​ู่ อสเฟต เชื่อมต​ ่อก​ ับค​ าร์บอนต​ ำ�แหน่งที่ 5 ของน​ ํ้าต​ าลเ​พนโ​ทส ด้วยพ​ ันธะเ​อสเ​ทอ​ ร​์
(ester bond) ใน DNA และ RNA มี​หมู่​ฟอสเฟต​เพียง​หนึ่ง​หมู่ ขณะ​ที่​นิว​คลี​โอ​ไทด์​อื่น​มี​หมู่​ฟอสเฟต​ได้
1-3 หมู่
            โครงสรา้ งข​ องน​ วิ ค​ ลโ​ี อไ​ทดม์​ ห​ี มูฟ​่ อสเฟตต​ ่อก​ ับน​ ํา้ ต​ าลเ​พนโ​ทสท​ ีค่​ าร์บอนต​ ำ�แหน่งที่ 5 ขณะท​ ​ี่
เบส​ต่อก​ ับน​ ํ้าต​ าล​เพนโ​ทส​ที่​คาร์บอน​ตำ�แหน่งที่ 1 ดังแ​ สดง​ในภ​ าพท​ ี่ 2.17
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50