Page 44 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 44

2-34 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

เรือ่ งท​ ี่ 2.1.4 กรด​นวิ ค​ ลอ​ี ิก

       กรด​นิว​คลี​อิก (nucleic acid) เป็น​หน่วยพ​ ื้น​ฐานข​ อง​สาร​พันธุกรรมข​ องส​ ิ่ง​มีช​ ีวิตท​ ุกช​ นิด มีหน้า​ที่​
สว่ นใ​หญใ​่ นเ​ชงิ พ​ นั ธกุ รรม และก​ ารแ​ สดงออกท​ างพ​ นั ธกุ รรมข​ องเ​ซลล์ กรดน​ วิ ค​ ลอ​ี กิ บ​ างช​ นดิ ม​ หี นา้ ท​ เี​่ กีย่ วขอ้ ง​
อยู่​ใน​กระบวนการ​เม​แทบ​อ​ลิ​ซึม ตัวอย่าง​เช่น อะ​ดี​โน​ซีน มอ​โน​ฟอสเฟต (adenosine monophosphate)
หรือ​เอ​เอ็มพ​ ี (AMP) อะ​ดีโ​น​ซีนไ​ด​ฟอสเฟต (adenosine diphosphate) หรือเ​อด​ ี​พี (ADP) และอ​ ะ​ดี​โน​ซีน
ไตร​ฟอสเฟต (adenosine triphosphate) หรือ​เอ​ทีพ​ ี (ATP) สาร​ทั้งส​ าม​นี้​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​เกิด​ปฏิกิริยา​การ​
สลาย​สาร​อาหาร​ระดับเ​ซลล์ และ​การ​สังเคราะห์​สารช​ ีว​โมเลกุลต​ ่างๆ

       กรด​นิว​คลี​อิก​มี​นิว​คลี​โอ​ไทด์​เป็น​หน่วย​พื้น​ฐาน นิว​คลี​โอ​ไทด์​เป็น​โครงสร้าง​พื้น​ฐาน​ของ​ทั้ง DNA
และ RNA ประกอบด​ ้วย เบสท​ ี่ม​ ีไ​นโตรเจนเ​ป็นอ​ งค์ป​ ระกอบ นํ้าต​ าลเ​พนโ​ทส และห​ มู่ฟ​ อสเฟต กรดน​ ิวค​ ลีอ​ ิก​
​มี​โครงสร้าง​ได้​หลาย​ระดับ​เช่น​เดียวกัน​กับ​โครงสร้าง​ของ​โปรตีน กรด​นิว​คลี​อิก​จะ​ถูก​ย่อย​ได้​เป็น​เบส​ที่​มี​
ไนโตรเจนเ​ป็นอ​ งค์ป​ ระกอบ นํ้าตาลด​ ีอ​ อกซ​ ีไ​รโ​บสและไ​รโ​บส ซึ่งถ​ ูกด​ ูดซ​ ึมเ​ข้าส​ ู่ร​ ่างกายไ​ด้ กระบวนการส​ ลาย​
กรด​นิว​คลี​อิก​ใน​สิ่ง​มี​ชีวิต​แบ่ง​ออก​เป็นก​ระ​บวน​การ​สลาย​นํ้าตาล และ​กระบวนการ​สลาย​เบส​ที่​มี​ไนโตรเจน​
เป็นอ​ งค์ป​ ระกอบ

1. 	ชนดิ ​ของ​กรด​นิวค​ ล​ีอกิ *

       กรดน​ ิวค​ ลีอ​ ิกเ​ป็นม​ หโ​มเลกุลท​ ี่ม​ ีน​ ิวค​ ลีโ​อไ​ทด์ (nucleotide) เป็นห​ น่วยพ​ ื้นฐ​ านใ​นล​ ักษณะเ​ดียวก​ ับ​
ที่ก​ รดอ​ ะม​ ิโ​นเ​ป็นห​ น่วยพ​ ื้นฐ​ านข​ องโ​ปรตีน กรดน​ ิวค​ ลีอ​ ิกใ​นส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิตม​ ี 2 ชนิด คือ กรดด​ ีอ​ อกซ​ ีไ​รโ​บน​ ิวค​ ลีอ​ ิก​
หรือดีเอ็นเอ (deoxyribonucleic acid, DNA) และ​กรด​ไร​โบ​นิวค​ ลี​อิก หรืออ​ าร์เ​อ็น​เอ (ribonucleic acid,
RNA)

       1.1 นวิ ค​ ลีโ​อ​ไทด์ ประกอบด​ ้วย เบส​ที่ม​ ีไ​นโตรเจนเ​ป็น​องค์​ประกอบ (nitrogenous base) นํ้า​ตาล​
เพนโ​ทส และห​ มู่​ฟอสเฟต (phosphate group) 1-3 หมู่

            1.1.1 เบสท​ ม​่ี ไ​ี นโตรเจนเ​ปน็ อ​ งคป​์ ระกอบ เป็นโ​ครงสร้างป​ ระกอบด​ ้วยว​ งแหวนท​ ีม่​ อี​ ะตอมข​ อง​
คาร์บอนแ​ ละไ​นโตรเจน แบ่ง​เป็น 2 กลุ่ม คือ เบสพ​ ิวร​ ีน (purine) และ​เบส​ไพร​ ิม​ ิด​ ีน (pyrimidine)

                1) เบสพ​ วิ ร​ นี มี 2 ชนิด คือ อะด​ ีน​ ีน (adenine) ใช้อ​ ักษรย​ ่อ A และก​ วาน​ ีน (guanine)
ใช้อ​ ักษร​ย่อ G เบส​ทั้ง​สอง​ชนิด​นี้พ​ บ​ได้ท​ ั้งใ​น DNA และ RNA โครงสร้าง​แบบว​ ง​ขอ​งอะ​ดี​นีน และก​ วาน​ ีน
แสดงใ​น​ภาพ​ที่ 2.16

         * รวบรวมแ​ ละเ​รียบเ​รยี งจ​ าก จ​ ำ�รสั พรอ้ มม​ าศ (2548) “ชวี โมเลกลุ ” ใน เอกสารการสอนชุดวชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน หน่วยที่
13 หน้า 85-152 นนทบุรี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49