Page 40 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 40
2-30 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.1.1 ทรานส์อะมิเนชัน เป็นปฏิกิริยาย้ายหมู่อะมิโนจากกรดอะมิโนตัวหนึ่งไปให้แก่กรด
อะมิโนอีกตัวหนึ่ง โดยอาศัยเอนไซม์อะมิโนทรานส์เฟอเรส (aminotransferase) หรือทรานส์เฟอเรส
(transferase) โดยที่ไม่มีก ารส ูญเสียห รือท ำ�ล ายห มู่อ ะม ิโนเพียงแ ต่ม ีก ารย ้ายจ ากส ารต ัวห นึ่งไปให้ส ารอ ีกต ัว
หนึ่ง ปฏิกิริยาน ีม้ ผี ลในก ารเก็บร วบร วมห มูอ่ ะม โินจ าก กร ดอ ะม โินต ่างๆ มาอ ยูใ่นร ูปข องก รด กล ูตาม ิก ซึ่งอ าจ
จะน ำ�ไปใช้สังเคราะห์เป็นโปรตีนห รือยูเรียโดยวัฏจักรย ูเรียต่อไป
2.1.2 ออกซิเดทีพดีอะมิเนชัน เป็นปฏิกิริยาออกซิเดชันซึ่งสลายหมู่แอลฟาอะมิโนของ
กรดอะมิโนให้กลายเป็นแอมโมเนียอิสระ ปฏิกิริยานี้มักเกิดที่ตับ โดยอาศัยเอนไซม์แอล-อะมิโนแอซิด
ดีไฮโดรจีเนส (L-amino acid dehydrogenase) สลายกรดอะมิโนให้เป็นกรดแอลฟาคีโทกลูตาริก
(alpha ketoglutaric acid) และแอมโมเนียในร่างกาย แอล-กลูตาเมตดีไฮโดรจีเนสเป็นเอนไซม์สำ�คัญที่
เปลี่ยนก ลูตาเมตให้เป็นแ อมโมเนีย ซึ่งจ ะเปลี่ยนให้เป็นย ูเรียและถูกขับออกจ ากร่างกายทางป ัสสาวะ
2.2 กระบวนการส ลายโครงสรา้ งคาร์บอนข องกร ดอ ะมิโน กรดอะมิโนทั้ง 20 ชนิด มักจ ะถ ูกสลาย
ต่อไปก ลายเป็นส ารตัวกลางในว ัฏจักรเครบส์ ทำ�ให้เกิดพลังงานได้ประมาณร้อยล ะ 10 ของพลังงานทั้งหมด
ในร่างกาย สารตัวกลางเหล่านี้ ได้แก่ อะเซทิลโคเอ แอลฟา-คีโทกลูตาเรต ซักซินิลโคเอ ฟูมาเรต และ
กรดอ อกซาโลอะเซต ิก ซึ่งจะถูกเปลี่ยนต ่อไปในว ัฏจักรเคร บส์จนได้คาร์บอนไดออกไซด์ นํ้า และ ATP
2.3 กระบวนการเปลี่ยนกรดอะมิโนไปเป็นกลูโคสและคีโทนบอดี กรดอะมิโนหลายชนิดเปลี่ยน
เป็นอะเซทิลโคเอแล้วเปลี่ยนต่อไปเป็นอะเซโทอะเซทิลโคเอ (acetoacetyl CoA) และคีโทนบอดีได้ที่ตับ
กรดอะมิโนชนิดที่เปลี่ยนเป็นคีโทนบอดีได้เรียกว่า คีโทเจนิกอะมิโนแอซิด (ketogenic amino acid)
กรดอะม ิโนส ่วนใหญ่ป ระมาณ 15 ใน 20 ชนิด จะเปลี่ยนเป็นก ลูโคสและไกลโคเจนได้ เรียกว ่า กลูโคเจน ิก
อะม ิโนแอซิด (glucogenic amino acid)
2.4 วัฏจักรยูเรีย การสร้างยูเรียเป็นวิธีสำ�คัญในการกำ�จัดแอมโมเนียที่เป็นพิษต่อเซลล์ เซลล์ตับ
เป็นแหล่งสำ�คัญในการสร้างยูเรียที่เรียกว่า วัฏจักรยูเรีย (urea cycle) ซึ่งร่างกายขับออกทางปัสสาวะ
ยูเรีย ละลายนํ้าได้ดีคิดเป็นร ้อยละ 80-90 ของสารประกอบไนโตรเจนท ั้งหมดในป ัสสาวะ
โดยสรุป กรดอะมิโนที่มีมากเกินความต้องการจะถูกสลายและขับออกมาในรูปของยูเรียไม่มีการ
เก็บส ะสมไว้ด ังเช่นค าร์โบไฮเดรตแ ละล ิพ ิด การก ำ�จ ัดก รดอ ะม ิโนป ระกอบด ้วยก ระบวนการก ำ�จัดห มู่แ อลฟา
อะม ิโนเป็นแ อมโมเนียอ ิสระ และก ารแ ปรรูปโครงสร้างค าร์บอนท ี่เหลืออ ยู่ แอมโมเนียจ ะถ ูกเปลี่ยนเป็นย ูเรีย
ส่วนโครงสร้างคาร์บอนจะถูกสลายเพื่อสร้าง ATP คีโทนบ อดี หรือนำ�ไปสร้างกลูโคสแ ละก รดอ ะมิโนข ึ้นมา
ใหม่ได้