Page 42 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 42
2-32 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
จใผนึงลคขผั้นวลบติตคอPนุมททจีช่ี่เะอ้าขทนึ้นีไ่สกซุดับมเคพ์บวียาางงมชขเนั้นริด็วต ขเอทอน่างเนเดอั้นียนไวไมซเ่จชมำ�่น์เEปจ3็นาเตกพ้อสียงมงคกชวานบริดคหเุมดากเียอเวอนนเไมซไื่อซมเม์ทป์ ุกE็นช3เชนเ่นปิดน็นี้กเอานรคไซวมบท์คีทุ่มำ�กงราะนบช ว้าทนี่สกุดารทป รั้งหิมมาณด
ระบบก ารค วบคุมก ารทำ�งานของเอนไซม์ม ี 2 ระบบ คือ การยังยั้งด้วยผ ลผลิตสุดท้าย และก ารเร่ง
เอนไซม์แ บบย้อนไปข ้างห น้า (feed forward activation) ในก รณีของก ารย ับยั้งด ้วยผ ลผลิตขั้นสุดท้ายน ั้น
ความเข้มข้นของผลผลิตจะส่งผลย้อนกลับไปบังคับการทำ�งานของเอนไซม์ต้นทาง จึงเรียกว่า การยับยั้ง
เอนไซม์แ บบป้อนกลับ (feedback inhibition) ดังส มการ
E1 B E2 C E3 D E4 E
A
3.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการทำ�งานของเอนไซม์ ความเร็วของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจากการทำ�งานของ
เอนไซม์ ไม่เพียงขึ้นกับปริมาณของสับสเตรต แต่ยังขึ้นกับปัจจัยอื่นๆ อีกหลายประการ ปัจจัยที่มีผลต่อ
ก ารท ำ�งานข องเอนไซม์ คือ โครงร ูปของเอนไซม์ ความเข้มข ้นข องเอนไซม์แ ละส ับส เตรต รวมท ั้งโคแ ฟกเตอร์
และส ารยับยั้งปฏิกิริยาข องเอนไซม์
3.4.1 ปัจจัยท ี่มีผลต่อโครงรูปของเอนไซม์ เอนไซม์มีโครงรูปเฉพาะ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ
โครงรูปของเอนไซม์จะมีผลต่อความสามารถในการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ด้วย ปัจจัยที่สำ�คัญคือ สภาพ
ความเป็นกร ด-เบส และอุณหภูมิข องส ารละลายเอนไซม์
1) สภาพความเป็นกรด-เบสของสารละลาย เอนไซม์มีสมบัติในด้านโครงสร้าง
ตลอดจนมีการแ สดงออกถ ึงประจุไฟฟ้าส ุทธิบ นโมเลกุลของเอนไซม์ ดังน ั้น เอนไซม์ที่อ ยู่ในส ารละลายจ ะมี
โครงสร้าง ประจุไฟฟ้าส ุทธิ และล ักษณะข องบ ริเวณเรง่ ป ฏกิ ิริยาเป็นไปต ามค วามเปน็ กร ด-เบสข องส ารละลาย
เอนไซม์ ระดับความเป็นกรด-เบสที่ท ำ�ให้เอนไซม์ทำ�งานได้ดีที่สุด (optimum pH) ของเอนไซม์แ ต่ละชนิด
มีระดับที่แตกต่างกันไป เอนไซม์ส่วนใหญ่จะมีความสามารถในการทำ�งานสูงสุดและมีเสถียรภาพมากที่สุด
เมื่อเอนไซม์นั้นอยู่ในสารละลายที่มีช่วงความเป็นกรด-เบส ระหว่าง pH 5-9 ยกเว้นเอนไซม์บางชนิดที่เร่ง
ปฏิกิริยาได้ดีในส ภาวะท ี่เป็นกรด ดังเช่น แอซ ิดฟอสฟาเทส หรือเอนไซม์บางช นิดเร่งปฏิกิริยาได้ด ีในสภาวะ
ที่สารละลายเป็นเบส ดังเช่น อัลค าไลน์ฟอสฟาเทส เป็นต้น
2) อณุ หภมู ิข องส ารละลาย โดยท ั่วไปอุณหภูมิจ ะช ่วยเร่งอ ัตราเร็วข องป ฏิกิริยาช ีวเคมี
ที่ใช้เอนไซม์ โดยทำ�ให้โมเลกุลของสับส เตรตและเอนไซม์มีพ ลังงานสูงข ึ้นจ ึงมีการเคลื่อนที่เร็ว ทำ�ให้โอกาส
ที่สับสเตรตจะเข้าสู่บริเวณเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์สูงขึ้นมาก เมื่อมีการเกิดสารเชิงซ้อนเอนไซม์-สับสเตรต
(ES) มากขึ้น ความเร็วสุทธิของปฏิกิริยาย่อมเพิ่มขึ้นด้วย อย่างไรก็ตาม หากอุณหภูมิสูงขึ้นเกินช่วงความ
เหมาะส มแล้วอัตราการเกิดปฏิกิริยาจ ะลดลง เนื่องจากโครงร ูปของเอนไซม์จ ะเปลี่ยนแปลงไปจ ากเดิมท ำ�ให้