Page 47 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 47
กระบวนการดำ�รงชีวิต 2-37
1.2.2 โครงสรา้ งท ตุ ยิ ภ มู ิ จากก ารศ กึ ษาโครงสรา้ งท ตุ ยิ ภ มู ขิ อง DNA โดยว ตั ส นั (Watson) และ
คริก (Crick) โดยใช้แ สงเอ็กซ์เรย์ส ่องผ ่านผลึกข อง DNA พบว่าโครงสร้างมีลักษณะเป็นเกลียวค ู่ (double
helix) คือ มีสาย DNA 2 สายพันรอบกันคล้ายบันไดเวียนโดยหันด้านที่มีเบสเข้าด้านใน ส่วนโครงสร้าง
ของน ํ้าตาลเพนโทสแ ละฟ อสเฟตอยู่ด้านนอก DNA ทั้งส องสายยึดเหนี่ยวก ันด้วยพ ันธะไฮโดรเจนที่เกิดขึ้น
ระหว่างเบสท ี่อ ยู่บ นส ายต รงกันข ้ามเป็นค ู่ๆ ที่เรียกว ่า เบสค ู่สม (complementary base pair) อะดีนีนจับ
คู่กับไทม ีน (A=T) โดยใช้พันธะไฮโดรเจน 2 พันธะ กวาน ีนจ ับค ู่กับไซโทซ ีน (G≡C) โดยใช้พ ันธะไฮโดรเจน
3 พันธะ ทิศทางข องสาย DNA ทั้ง 2 สายสวนท างก ัน (antiparallel) เสมอ ดังภ าพที่ 2.19
DNA เกลยี วค มู่ เี บสค สู่ มร ะหวา่ งส องส ายจ บั ก นั เปน็ ค ูๆ่ โดยเบสจ ะเรยี งต วั ซ อ้ นก นั เปน็ เหมอื น
ขั้นบ ันไดเวียน อิเล็กตรอนข องเบสค ู่ส มท ี่อ ยู่ข ้างเคียงก ันจ ะท ำ�ให้เกิดแ รงย ึดเหนี่ยวให้โครงสร้างแ บบเกลียว
มีความเสถียรสูง โดยเกลียวคู่นี้จะเกิดโครงสร้างที่เป็นร ่อง (groove) โดยร่องห นึ่งมีขนาดใหญ่ก ว่า (major
groove) และอีกร่องห นึ่งม ีขนาดเล็กกว่า (minor groove) ร่องนี้เป็นตำ�แหน่งสำ�คัญท ี่เบสภ ายใน DNA จะ
มีปฏิสัมพันธ์กับโปรตีนหรือสารช ีวโมเลกุลอื่น
ภาพที่ 2.19 เบสคูส่ มข อง DNA และโครงสร้างท เี่ ปน็ ส ายส วนทางกัน
DNA เกลยี วค มู่ ไี ดห้ ลายแ บบ วตั ส นั แ ละค ร กิ พ บว า่ แบบบ ี (B Form) เปน็ แ บบเกลยี วค วู่ นข วา
ที่ม ีเบส 10 เบส ต่อการวน 1 รอบ ระยะห่างร ะหว่างข ั้นบ ันไดเวียนข องเบสเท่ากับ 3.4 อังสตรอม (34 นาโน-
เมตร) อย่างไรก ็ตาม ในธรรมชาติอ าจพบโครงสร้างสายคู่ในร ูปแ บบอ ื่นได้