Page 43 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 43

กระบวนการด​ ำ�รงช​ ีวิต 2-33

ปริมาณเ​อนไซมท์​ ีม่​ โี​ครงร​ ูปท​ ีเ่​หมาะส​ มต​ ่อก​ ารเ​ร่งป​ ฏิกิริยาล​ ดล​ งไ​ปด​ ้วย ความเร็วข​ องป​ ฏิกิริยาย​ ่อมช​ ้าล​ งด​ ้วย​
เหตุ​ดังก​ ล่าว

            3.4.2 ความเ​ขม้ ​ขน้ ข​ อง​เอนไซม​แ์ ละ​สบั ส​ ​เตรต เป็นป​ ัจจัยท​ ี่​มี​ผลต​ ่อก​ ารท​ ำ�งาน​ของเ​อนไซม์ใ​น​
ปฏิกิริยา

                1)	 ความ​เข้ม​ข้น​ของ​เอนไซม์ จะ​มี​ผล​ต่อ​ความเร็ว​ของ​การ​เกิด​ปฏิกิริยา โดย​ความเร็ว​
สูงสุด​ของ​ปฏิกิริยา​จะ​เป็น​สัดส่วน​โดยตรง​กับ​ความ​เข้ม​ข้น​ของ​เอนไซม์ เมื่อ​ความ​เข้ม​ข้น​ของ​เอนไซม์​มาก
ความเร็วส​ ูงสุดข​ องป​ ฏิกิริยาจ​ ะ​สูง​เป็น​สัดส่วน​กัน

                2)	 ความ​เข้ม​ข้น​ของ​สับ​ส​เตรต การ​เกิด​ปฏิกิริยา​ต้อง​มี​ขั้น​ตอน​ใน​การ​รวม​ตัว​ระ​หว่าง​
สับส​ เ​ตรตแ​ ละเ​อนไซม์ใ​ห้ไ​ด้ส​ ารเ​ชิงซ้อนเ​อนไซม์-สับส​ เ​ตรต (ES) โอกาสท​ ี่จ​ ะเ​กิดส​ ารเ​ชิงซ้อนน​ ี้ข​ ึ้นก​ ับป​ ริม​ าณ​
สับส​ เ​ตร​ตด้วย กล่าว​คือ เมื่อค​ วามเ​ข้ม​ข้นข​ องส​ ับส​ เ​ต​รตน้อ​ ย โอกาส​ที่​จะ​ไปจ​ ับร​ วมก​ ับบ​ ริเวณ​เร่งบ​ น​โมเลกุล​
ของ​เอนไซม์ย​ ่อม​น้อยไ​ป​ด้วย ทำ�ให้​เอนไซม์ส​ ่วนใ​หญ่​อยู่​ใน​รูป​อิสระ ดังน​ ั้น การ​เกิด​ผลผลิต​ก็จ​ ะน​ ้อยล​ ง​เป็น​
สัดส่วน ใน​ทาง​ตรง​กัน​ข้าม​เมื่อ​มี​ปริ​มาณ​สับ​ส​เตร​ตมาก​โอกาส​ที่​จะ​เข้า​ทำ�​ปฏิกิริยา​ที่​บริเวณ​เร่ง​ของ​เอนไซม์​ก็​
มี​มาก​เช่น​กัน ความเร็วส​ ุทธิข​ องป​ ฏิกิริยา​จึง​สูงข​ ึ้น​ตามไ​ป​ด้วย

            3.4.3 	โค​แฟกเตอร์​และ​สาร​ยับย้ัง​ปฏิกิริยา นอกจาก​ปัจจัย​ด้าน​ความ​เข้ม​ข้น​ของ​เอนไซม์​และ​
สับ​ส​เตรต อุณหภูมิ และ​ความ​เป็นก​รด-เบส​ที่​เป็น​ปัจจัย​หลัก​ที่​มี​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​การ​ทำ�งาน​ของ​เอนไซม์​แล้ว​
ยังม​ ี​ปัจจัย​อื่นเ​พิ่มเ​ติม หากป​ ัจจัย​นั้นเ​ป็น​สาร​ที่ส​ ำ�คัญต​ ่อ​การ​เร่งป​ ฏิกิริยา​ทำ�ให้ป​ ฏิกิริยา​เกิดเ​ร็ว​ขึ้น​จะเ​รียก​ว่า
โค​แฟกเตอร์ (cofactor) สาร​บาง​อย่าง​อาจ​จะ​มี​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​ความเร็ว​ของ​ปฏิกิริยา​ใน​ทาง​ที่​ทำ�ให้​ปฏิกิริยา​
ช้าล​ ง​หรือเ​กิดข​ ึ้นไ​ม่ไ​ด้ สารป​ ระเภทน​ ี้​เรียกว​ ่า สารย​ ับยั้งป​ ฏิกิริยา (inhibitor)

                1) 	โค​แฟกเตอร์ เอนไซม์​บาง​ชนิด​มี​องค์​ประกอบ​หลัก​เป็น​โปรตีน​เพียง​อย่าง​เดียว​
ดัง​นั้น​ความ​สามารถใ​น​การเ​ร่งป​ ฏิกิริยา​เคมี​จึง​เกิดข​ ึ้น​กับ​โครงสร้างข​ องเ​อนไซม์โ​ดยตรง แต่เ​อนไซม์​บาง​ชนิด​
ต้อง​มีโ​มเลกุล​ชนิด​อื่นท​ ี่ไ​ม่ใช่โ​ปรตีนม​ าช​ ่วยใ​นก​ าร​ทำ�งาน​ของเ​อนไซม์​ด้วย สารเ​หล่า​นี้​เรียกว​ ่า โคแ​ ฟกเตอร์

                2) 	สารย​ บั ยงั้ ป​ ฏกิ ริ ยิ า มผี​ ลกร​ ะท​ บต​ ่อโ​มเลกุลข​ องเ​อนไซมใ์​นล​ ักษณะต​ ่างก​ ัน ขึ้นอ​ ยูก่​ ับ​
ชนิดข​ องส​ ารย​ ับยั้งป​ ฏิกิริยาแ​ ละส​ มบัติข​ องเ​อนไซม์แ​ ต่ละช​ นิด สารย​ ับยั้งแ​ บ่งอ​ อกเ​ป็น 2 ประเภท ตามว​ ิธีก​ าร​
เกาะข​ องส​ ารย​ บั ยัง้ บ​ นโ​มเลกลุ ข​ องเ​อนไซม์ คอื สารย​ บั ยัง้ ถ​ าวรจ​ ะเ​กาะก​ บั เ​อนไซมด​์ ว้ ยพ​ นั ธะโ​คเ​วเ​ลนต​ จ​์ งึ ท​ ำ�ให​้
มีก​ ารเ​กาะอ​ ย่างแ​ น่นห​ นา เอนไซม์​ที่​มีส​ าร​ยับยั้งป​ ระเภท​นี้อ​ ยู่​จะ​เสียส​ ภาพ​ธรรมชาติไ​ปอ​ ย่าง​ถาวร สารย​ ับยั้ง​
อีก​ชนิด​หนึ่ง คือ สาร​ยับยั้งช​ ั่วคราว สาร​ประเภท​นี้​จะ​จับ​กับเ​อนไซม์ด​ ้วย​พันธะ​ที่ไ​ม่ใ​ช่โ​คเ​วเ​ลน​ต์ เอนไซม์จ​ ึง​
สามารถ​คืนส​ ภาพ​ธรรมชาติ​ได้​หากม​ ีก​ าร​กำ�จัดส​ าร​ยับยั้ง​ให้อ​ อกจ​ ากโ​มเลกุลข​ อง​เอนไซม์

             หลังจ​ าก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่องท​ ี่ 2.1.3 แล้ว โปรดป​ ฏิบัติก​ ิจกรรม 2.1.3
                      ใน​แนวก​ าร​ศึกษา​หน่วย​ที่ 2 ตอนท​ ี่ 2.1 เรื่องท​ ี่ 2.1.3
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48