Page 39 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 39

กระบวนการด​ ำ�รง​ชีวิต 2-29

            1.3.4 โครงสร้าง​จตุรภูมิ (quaternary structure) เป็น​โครงสร้าง​ที่​แสดง​การ​จับ​ตัว​ของ​สาย​
พอล​ ิเ​พปไ​ทด์ต​ ั้งแต่ 2 สายข​ ึ้น​ไป เช่น ฮีโ​มโ​กล​ บิน​ประกอบ​ด้วย 4 หน่วยย​ ่อย (sub unit) โดย​ฮีโ​ม​โกล​ บิน​
ชนิดเ​อ (hemoglobin A) ประกอบข​ ึ้นด​ ้วยส​ ายพ​ อล​ ิเ​พปไ​ทด์ช​ นิดแ​ อลฟาโ​กล​ บิน (α-globin) จำ�นวน 2 สาย
และ​สาย​พอล​ ิเ​พป​ไทด์ช​ นิดบ​ ีตา​โกล​ บิน (b-globin) จำ�นวน 2 สาย รวมอ​ ยู่​ด้วย​กัน​ดัง​ภาพท​ ี่ 2.15

                                  ฮีม บีตา​โกล​ บิน

                                           แอลฟาโ​ก​ลบิน

                           ภาพท​ ่ี 2.15 โครงสร้าง​จตรุ ภ​ ู​มขิ​ องฮ​ โ​ี มโ​กล​ บิน

       โครงสร้าง​ของ​โปรตีน​ใน​ระดับ​ต่างๆ เป็น​ปัจจัย​สำ�คัญ​ต่อ​สภาพ​ธรรมชาติ​ของ​โปรตีน การ​มี​แรง​ยึด​
เหนี่ยว​เนื่องจาก​มีพ​ ันธะห​ รือป​ ฏิสัมพันธ์ (interaction) ที่​ไม่แ​ ข็ง​แรง​ทำ�ให้​โปรตีน​เสีย​สภาพธ​ รรมชาติ​ได้​ง่าย
ปจั จยั ท​ มี​่ ผ​ี ลต​ อ่ ธ​ รรมชาตข​ิ องโ​ปรตนี ไ​ดแ้ ก่ ความร​ อ้ น ความเ​ปน็ กร​ ดเ​บสข​ องส​ ารละลาย ชนดิ ข​ องต​ วั ท​ ำ�ล​ ะลาย
เป็นต้น โปรตีน​ที่เ​สียส​ ภาพ​ธรรมชาติไ​ป​แล้ว​บางช​ นิด​ไม่​สามารถค​ ืนส​ ภาพธ​ รรมชาติ​กลับม​ า​ทำ�งาน​ใหม่​ได้​อีก
แต่โ​ปรตีนบ​ าง​ชนิดอ​ าจสามารถ​คืนส​ ภาพธ​ รรมชาติป​ กติไ​ด้ห​ าก​ปัจจัย​ดัง​กล่าว​มีผ​ ลต​ ่อโ​ปรตีนน​ ั้นไ​ม่​มาก

2. 	กระบวนการส​ ลายโ​ปรตีน*

       เมื่อไ​ดร้​ ับอ​ าหารเ​ข้าส​ ูร่​ ่างกาย โปรตีนถ​ ูกย​ ่อยโ​ดยเ​อนไซมใ์​นท​ างเ​ดินอ​ าหารไ​ดเ้​ป็นก​ รดอ​ ะม​ โิ​นซ​ ึ่งเ​ป็น​
โมเลกลุ เ​ลก็ ถ​ กู ด​ ูดซ​ ึมไ​ด้ หลงั จ​ ากถ​ กู ด​ ดู ซ​ มึ แ​ ลว้ กรดอ​ ะม​ โิ​นจ​ ะถ​ ูกข​ นส่งไ​ปต​ ามก​ ระแสโ​ลหติ ไ​ปย​ ังอ​ วยั วะต​ า่ งๆ
เพื่อน​ ำ�ไ​ปส​ ังเคราะห์เ​ป็นโ​ปรตีน​ของ​อวัยวะ​หรือเ​นื้อเ​ยื่อ​นั้นๆ เช่น โปรตีน​ในต​ ับ โปรตีนใ​น​พลาสมา เป็นต้น
กรด​อะ​มิ​โน​ที่​ไม่​ได้​ถูก​นำ�​ไป​ใช้​ใน​การ​สังเคราะห์​โปรตีน​จะ​ถูก​นำ�​ไป​สลาย​ต่อ​ไป กระบวนการ​สลาย​โปรตีน​ที่​
สำ�คัญม​ ี​ดังต​ ่อ​ไปน​ ี้

       2.1 	กระบวนการเ​ปล่ยี น​แป​ลง​หมอ่​ู ะม​ ​โิ นข​ อง​ กร​ ดอ​ ะม​ ิ​โน อาศัยป​ ฏิกิริยา​ที่​สำ�คัญ 2 ปฏิกิริยา ได้แก่
ทรานส์อะ​มิเ​น​ชัน (trans-amination) และอ​ อก​ซิ​เดที​พดีอะ​มิ​เนช​ ัน (oxidative deamination)

         * รวบรวมแ​ ละเ​รียบเ​รียงจ​ าก  ศรศิ​ ักดิ์ สุนทรไ​ชย (2548) “กระบวนการสลายและสร้างสารในสิ่งมีชีวิต” ใน เอกสารการสอน
ชุดวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน หน่วยที่ 14 หน้า 153-196 นนทบุรี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44