Page 53 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 53
กระบวนการด ำ�รงชีวิต 2-43
และหลอดไตรวมจะไม่ยอมให้นํ้าแพร่ผ่านกลับ อัตราการผลิตปัสสาวะจะสูงแต่ปัสสาวะจะเจือจาง ร่างกาย
จะเสียนํ้าอย่างรวดเร็วทำ�ให้ปริมาตรของของเหลวนอกเซลล์ลดลง ทั้งนี้มิได้เปลี่ยนแปลงการสูญเสียเกลือ
โซเดียมไปก ับปัสสาวะ
ในท างต รงกันข ้าม หากร ่างกายข าดนํ้า การหลั่งฮอร์โมนแอนติไดย ูเรติกจ ะเพิ่มข ึ้น อัตราการ
ผลิตปัสสาวะจะลดลง แต่ปัสสาวะจะเข้มข้น เท่ากับร่างกายเสียสารที่ถูกละลายไปกับปัสสาวะในอัตราส่วน
ที่มาก กว ่าเสียน ํ้า หรือข ับสารออกจ ากร่างกายได้ม ากแต่เสียน ํ้าน ้อย
1.1.2 สมดลุ ของโซเดยี ม ปกตใินร ่างกายผ ู้ใหญม่ โีซเดียมป ระมาณ 55 มิลลโิมล าร ์ต่อก ิโลกรัม
(mM/kg) โดยป ระมาณร ้อยละ 30 รวมอ ยู่อ ย่างหนาแ น่นในโครงสร้างท ี่ค ล้ายผ ลึกข องกระดูก โซเดียมส่วน
นี้ไม่สามารถแ ลกเปลี่ยนกับส่วนอ ื่นๆ และประมาณร้อยละ 70 อยู่ในช่องว่างร ะหว่างเซลล์ซึ่งโซเดียมส ่วนน ี้
สามารถแ ลกเปลี่ยนก ับส่วนอ ื่นๆ ได้
ในสภาวะปกติ ร่างกายสูญเสียโซเดียมทางผิวหนังโดยการขับเหงื่อ ซึ่งอัตราการผลิตเหงื่อ
จะมากขึ้นในสภาวะแวดล้อมที่อุณหภูมิภายนอกสูงกว่าอุณหภูมิร่างกาย การออกกำ�ลังกาย และการมีไข้
ภายใต้สภาวะแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมอย่างมากร่างกายอาจผลิตเหงื่อได้มากถึงวันละ 5 ลิตร ซึ่งจะสูญเสีย
โซเดียมมากกว่า 250 มิลลิโมลาร์ ร่างกายสูญเสียโซเดียมเพียงเล็กน้อยทางกระเพาะอาหาร ลำ�ไส้ และถูก
ขับออกทางอุจจาระเพียงว ันล ะ 1-2 มิลลิโมลาร์ นอกจากน ี้แผลไหม้ และแ ผลบ ริเวณผิวหนังที่ม ีการไหลซ ึม
จะม ีการเสียโซเดียมและน ํ้าด้วย
ไตเป็นทางหลักของการขับโซเดียม โซเดียมถูกกรองอย่างอิสระโดยโกลเมอรูลัสแล้วจะถูก
ดูดกลับ หลอดไตส่วนป ลายแ ละห ลอดไตรวมส ามารถขนส่งเกลือโซเดียมค ลอไรด์น ี้จากห ลอดไตกลับเข้าส ู่
กระแสโลหิตได้ด้วยกระบวนการที่อาศัยพลังงาน โดยปกติแล้วโซเดียมที่ถูกกรองน้อยกว่าร้อยละ 1 ที่ถูก
ขับถ่ายอ อก ร่างกายต ้องค วบคุมก ารข ับโซเดียมทางป ัสสาวะให้คงที่ เนื่องจากการขับโซเดียมเกี่ยวข้องอ ย่าง
มากก ับก ารค วบคุมปริมาตรน ํ้านอกเซลล์
ในห ลอดไตส ่วนต ้น โซเดยี มจ ะแ พรจ่ ากส ารละลายในห ลอดไตเข้าส เู่ ซลลบ์ หุ ลอดไตซ ึง่ ม คี วาม
เข้มข ้นข องโซเดียมต ํ่าก ว่า ในข ณะเดียวกัน เซลล์ก ็จ ะใช้พ ลังงานในก ารข นส่งโซเดียมอ อกจ ากเซลล์เข้าส ู่ช ่อง
ว่างร ะหว่างเซลล์ คลอไรด์ไออ อน ก็จ ะแ พร่ต ามโซเดียมไอออนเข้าม าเพื่อร ักษาส มดุลข องไอออน และน ํ้าก ็จ ะ
ออส โมซ ิสเข้าม าด ้วย ทำ�ให้ค วามดันในช่องร ะหว่างเซลล์ส ูงขึ้นแ ละด ันสารละลายในช ่องน ี้เข้าส ู่ก ระแสโลหิต
ดังนั้น ในหลอดไตส่วนต ้นนี้ก ารดูดกลับของโซเดียมจะม ีผ ลให้เกิดก ารด ูดก ลับของนํ้าในอ ัตราส่วนเดียวกัน
ในห ่วงเฮนเล โซเดียมคลอไรด์ถูกดูดก ลับอ ีกร้อยละ 20 ของที่ถูกกรอง แต่ในส ่วนนี้โซเดียม
คลอไรด์ถ ูกด ูดก ลับม ากกว่าน ํ้า เพราะส ่วนป ลายขอ งเยื่อบ ุห ่วงเฮนเลส ่วนท ี่ต ่อก ับห ลอดไตส ่วนป ลายไม่ย อม
ให้นํ้าแพร่ผ่าน ความเข้มข ้นข องโซเดียมค ลอไรด์ในส ่วนต้นของหลอดไตส่วนปลายจ ึงตํ่าก ว่าในพ ลาสมา
ในห ลอดไตส ่วนป ลายแ ละห ลอดไตร วมม กี ารด ูดโซเดียมค ลอไรดก์ ลับด ้วยก ระบวนการเดียว
กับที่เกิดในหลอดไตส่วนต้น แต่ต่างกันตรงที่หลอดไตส่วนนี้จะยอมให้นํ้าออสโมซิสผ่านได้หรือไม่ได้นั้น
ขึ้นก ับฮอร์โมนแอนไทไดย ูเรต ิก ถ้าร ะดับฮอร์โมนแ อนไทไดย ูเรติกในโลหิตส ูงเยื่อบุหลอดไตส่วนปลายและ
หลอดไตรวมจะยอมให้นํ้าออสโมซิสผ่านได้ แต่ถ้าระดับฮอร์โมนแอนไทไดยูเรติกตํ่านํ้าก็จะออสโมซิสผ่าน