Page 67 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 67

กระบวนการด​ ำ�รง​ชีวิต 2-57

                          ค. 	โพแทสเซียม​ไอออน เมื่อ​ใบไม้​ได้​รับ​แสง​จะ​พบ​ว่า​มี​การ​ลำ�เลียง​
โพแทสเซียมไ​ออนจ​ าก​เซลล์ผ​ ิว​ใบ​เข้า​สู่​เซลล์ค​ ุมพ​ ร้อมๆ ก​ ับ​มี​การส​ ร้าง​กรด​มาล​ ิก (malic acid) สาร​ทั้งส​ อง​
ชนิดน​ ีจ้​ ะท​ ำ�ใหค้​ วามเ​ข้มข​ ้นข​ องส​ ารละลายใ​นเ​ซลลค์​ ุมส​ ูงข​ ึ้น นํ้าจ​ ะแ​ พรจ่​ ากเ​ซลลข์​ ้างเ​คียงเ​ข้าส​ ูเ่​ซลลค์​ ุม ทำ�ให​้
เซลล์​คุม​เต่ง รู​ปาก​ใบ​จึงเ​ปิด

                     (2) 	 อุณหภูมิ อุณหภูมิ​ที่​เหมาะ​สม​จะ​ทำ�ให้​รู​ปาก​ใบ​เปิด แต่​ถ้า​อุณหภูมิ​ตํ่า​มากๆ
หรอื ส​ ง​ู มากๆ รป​ู ากใ​บจ​ ะป​ ดิ กลไกข​ องอ​ ณุ หภมู ท​ิ ม​ี่ ผ​ี ลต​ อ่ ก​ ารป​ ดิ เ​ปดิ ข​ องร​ ป​ู ากใ​บเ​นอ่ื งจากอ​ ณุ หภมู ร​ิ ะดบั ต​ า่ งๆ
มี​ผล​ต่อ​การ​สังเคราะห์​ด้วย​แสง​และ​การ​หายใจ​ระดับ​เซลล์ ซ่ึง​มี​ผล​ทำ�ให้​ความ​เข้ม​ข้น​ของ​คาร์บอนไดออกไซด์​
เปลยี่ นแปลงด​ ว้ ย

                     (3)	 ความชนื้   เมอื่ ใ​บม​ ป​ี รมิ าณน​ าํ้ ม​ ากห​ รอื อ​ ากาศม​ ค​ี วามชน้ื ส​ งู อตั ราก​ ารค​ ายน​ า้ํ ตาํ่ ​
จะ​ทำ�ให้​รู​ปาก​ใบ​เปิด ใน​ขณะ​ที่​อากาศ​แห้ง​และ​ใบ​มี​การ​คาย​น้ํา​มาก​เซลล์​คุม​ใน​ใบ​จะ​เหี่ยว​เป็น​ผล​ให้​รู​ปาก​ใบ​
ปิดไ​ ด้

                สภาวะแ​ วดล้อมภ​ ายน​ อก​ อื่นๆ ทีม่​ อี​ ิทธิพลต​ ่ออ​ ัตราก​ ารค​ ายน​ ํ้าข​ องพ​ ืช ได้แก่ ลมซ​ ึ่งช​ ่วย​
พัด​พา​เอาค​ วามชื้น​ออกไ​ป​จาก​บริเวณร​ อบๆ ใบ ทำ�ให้​อัตรา​การ​คายน​ ํ้าส​ ูง​ขึ้น ความก​ ดดันข​ อง​บรรยากาศซ​ ึ่ง​
หากต​ ํา่ ไ​อน​ ํา้ จ​ ะแ​ พรอ​่ อกม​ าจ​ ากใ​บม​ ากกวา่ ท​ �ำ ใหอ​้ ตั ราก​ ารค​ ายน​ ํา้ ส​ งู ข​ ึน้ นอกจากน​ ปี​้ รมิ าณน​ ํา้ ใ​นด​ นิ แ​ ละป​ รมิ าณ​
นํ้าใ​นพ​ ืชซ​ ึ่งถ​ ้าม​ มี​ ากจ​ ะพ​ บว​ ่าม​ อี​ ัตราก​ ารค​ ายน​ ํ้าส​ ูง ถ้าพ​ ืชข​ าดน​ ํ้าจ​ ะท​ ำ�ใหเ้​ซลลค์​ ุมเ​หี่ยว เป็นผ​ ลใ​หร้​ ปู​ ากใ​บเ​ปิด
ซึ่งเ​ป็นการล​ ด​อัตรา​การค​ ายน​ ํ้าไ​ป​ด้วย

       4.3 	การล​ ำ�เลยี งอ​ าห​ ารใ​นโ​ฟลเ​อม็   เ​ปน็ การล​ �ำ เลยี งอ​ าหารเ​พือ่ ส​ ง่ ไ​ปย​ งั ส​ ว่ นข​ องพ​ ชื ท​ กี​่ �ำ ลงั เ​จรญิ เ​ตบิ โต
เช่น ยอด ต้น​อ่อน หรือ​ปลาย​ราก หรือ​นำ�​ไป​เก็บ​สะสม​ไว้​ใน​ส่วน​ที่​มี​การ​สะสม​อาหาร เช่น ลำ�ต้น ราก และ​
หัว อาหาร​ดัง​กล่าว คือ นํ้าตาล​ที่พ​ ืชส​ ร้าง​ขึ้น​จากก​ ารส​ ังเคราะห์ด​ ้วย​แสง

       การ​ลำ�เลียง​อา​หาร​ทาง​โฟล​เอ็ม​มี​อัตรา​โดย​เฉลี่ย​ไม่​เกิน​หนึ่ง​ใน​สิบ​ของ​การ​ลำ�เลียง​นํ้า​และ​สาร​อาหาร​
ทาง​ไซ​เลม ความเร็ว​ของ​การ​ลำ�เลียง​ขึ้น​อยู่​กับ​ชนิด​ของ​พืช​และ​ชนิด​ของ​สาร​ที่​ถูก​ลำ�เลียง อัตรา​การ​ลำ�เลียง​
โดย​เฉลี่ย 50-100 เซนติเมตร​ต่อ​ชั่วโมง และอ​ ัตรา​สูงสุด​ไม่เ​กิน 300 เซนติเมตรต​ ่อ​ชั่วโมง ทิศทาง​การ​ลำ�เลียง​
สารใ​นโ​ฟลเ​อ็มม​ ีท​ ั้งแ​ นวทางข​ ึ้นแ​ ละล​ งใ​นเ​วลาเ​ดียวกัน ในข​ ณะท​ ี่ก​ ารล​ ำ�เลียงน​ ํ้าแ​ ละส​ ารอ​ าหารท​ างไ​ซเ​ลมม​ ีแ​ ต​่
การล​ ำ�เลียงแ​ นวข​ ึ้นท​ างเ​ดียว ส่วนก​ ารล​ ำ�เลียงท​ างด​ ้านข​ ้างห​ รือด​ ้านร​ ัศมใี​นไ​ซเ​ลมแ​ ละโ​ฟลเ​อ็มเ​กิดข​ ึ้นน​ ้อยม​ าก

            4.3.1 กลไก​การ​ลำ�เ​ลียง​ทาง​โฟล​เอ็ม มี​ผู้​เสนอ​สมมติฐาน​กลไก​การ​ลำ�เลียง​อา​หาร​ใน​โฟล​เอ็ม​
ไว้ ดังนี้

                1)	 สมมตฐิ าน​การแ​ พร่​ธรรมดา (simple diffusion hypothesis) เชื่อ​ว่า การล​ ำ�เลียงส​ าร​
ในท​ ่อ​พรุ​นขอ​ ง​โฟลเ​อ็มเ​กิดข​ ึ้น​จาก​การ​แพร่​ของ​สารละลายจ​ ากเ​ซลล์​หนึ่ง​ไป​ยัง​อีกเ​ซลล์​หนึ่ง​โดย​ผ่านท​ างผ​ นัง​
ส่วน​ปลาย​ที่เ​ป็น​รูพ​ รุน

                2) 	สมมติฐาน​การ​หมุนเวียน​ของ​โพร​โท​พลา​ซึม (protoplasm streaming hypothesis)​
เชื่อ​ว่า การล​ ำ�เลียงส​ ารใ​น​โฟล​เอ็มเ​กิด​จาก​การห​ มุนเวียน​ของ​โพร​โทพ​ ลา​ซึมภ​ ายใน​เซลล์​ท่อ​พรุน

                3) 	สมมติฐาน​ขอ​งมึนช์​ว่า​ด้วย​การ​ไหล​ท่ี​เกิด​จาก​แรง​ดัน (Munch’ s pressure flow
hypothesis) หรอื ส​ มมติฐาน​การไ​หล​ของ​มวลสาร (mass flow hypothesis) ใน​ปี พ.ศ. 2473 นักว​ ิทยาศาสตร​์
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72