Page 70 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 70
2-60 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
นํ้าผ่านเข้าสู่ลำ�ตัว อาหารจ ะถ ูกนำ�เข้าสู่เซลล์ป ลอกคอ และถ ูกล ำ�เลียงไปสู่เซลล์อื่นๆ โดยวิธีการท ี่คล้ายกับ
พวกโพรโทซัว
5.1.3 การลำ�เลียงในไฮดรา ไฮดราเป็นสัตว์พวกแรกที่มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ภายในลำ�ตัวมีช่องที่
ติดต่อกับภ ายนอกได้ (gastrovascular cavity) ซึ่งท ำ�ห น้าที่เป็นทั้งท างเดินอาหารแ ละทางล ำ�เลียงข องสาร
ต่างๆ ในเวลาเดียวกัน การลำ�เลียงเกิดขึ้นโดยอาศัยการแพร่ของสารจากช่องว่างกลางลำ�ตัว เซลล์ที่บุด้าน
ในของช ่องว่างก ลางล ำ�ต ัวจ ะส ร้างน ํ้าย่อยอ อกม าย ่อยอ าหารให้เป็นโมเลกุลเล็กลงแล้วน ำ�อ าหารท ี่ย่อยแ ล้วนี้
แพรเ่ ขา้ ส เู่ ซลล์ ของเสยี ก จ็ ะซ มึ ผ า่ นเซลลอ์ อกไปส ชู่ อ่ งว า่ งแ ละถ กู ข บั อ อกไปน อกล ำ�ต วั การเคลือ่ นทขี่ องไฮดรา
ในนํ้าข ณะยืดแ ละหดก็มีส่วนช ่วยเพิ่มอ ัตราการแพร่ของส ารเข้าส ู่ไซโทพ ลาซึมของเซลล์ด้วยเช่นกัน
5.1.4 การล ำ�เลยี งในพ ลาน าเรยี พลาน าเรียมีล ำ�ต ัวแ บน มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น เนื้อเยื่อช ั้นท ี่ 3 แทรก
อยู่ร ะหว่างเนื้อเยื่อช ั้นน อกแ ละช ั้นในอ ย่างห ลวมๆ ดังน ั้นจ ะม ีช ่องว ่างซ ึ่งม ีข องเหลวร ะหว่างเซลล์ค ล้ายๆ กับ
ของเหลวระหว่างเซลล์ในสัตว์ชั้นสูง อาหารที่กินเข้าไปจะถูกย่อยแล้วจึงแพร่ผ่านเซลล์ชั้นในเข้าสู่ช่องว่าง
ระหว่างเซลล์ อาหารที่ปะปนกับข องเหลวรอบๆ เซลล์จ ะถ ูกส่งผ่านไปต ามเซลล์ท ั่วร่างกายโดยอาศัยการบ ีบ
และคลายตัวของกล้ามเนื้อที่อยู่ตามผนังลำ�ตัว ทำ�ให้เกิดการไหลเวียนของสารอาหารเกิดขึ้น ส่วนของเสีย
ที่เป็นของเหลวนั้นพลานาเรียมีท่อขับถ่ายยาวตลอดลำ�ตัว แต่ละท่อจะแตกแขนงออกเป็นท่อเล็กๆ แทรก
ไปตามเนื้อเยื่อของร่างกาย บริเวณปลายท่อเหล่านั้นมีเฟรมเซลล์ (frame cell) การโบกพัดของเฟรมเซลล์
จะทำ�ให้นํ้าและของเสียที่ปนมากับนํ้าไหลไปตามท่อขับถ่ายและถูกขับออกสู่ภายนอกร่างกายโดยผ่านทาง
รูข ับถ ่าย (excretory pore)
5.2 การลำ�เลียงในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังและสัตว์มีกระดูกสันหลัง สัตว์กลุ่มนี้มีเซลล์จำ�นวน
มากประกอบกันเป็นเนื้อเยื่อตามระบบต่างๆ ของร่างกาย เช่น เซลล์กล้ามเนื้อ เซลล์ประสาท เป็นต้น
เซลล์เหล่านี้ไม่สามารถรับสารอาหารหรือติดต่อกับสิ่งแวดล้อมภายนอกร่างกาย แต่ทุกเซลล์ต้องการสาร
อาหารเพื่อการสร้างพลังงานสำ�หรับการดำ�รงชีวิตตลอดเวลา สารอาหารที่เซลล์เหล่านั้นได้รับ คือ สาร
อาหารท ี่ละลายปนอยู่ก ับส ารละลายนอกเซลล์ เมื่อเซลล์น ำ�อาหารจ ากรอ บๆ เซลล์ไปส ร้างพลังงานโดยผ่าน
กระบวนการแ พร่ ความเข้มข ้นข องส ารอ าหารท ี่อ ยู่ในส ารละลายน อกเซลล์จ ะล ดล ง ในข ณะเดียวกัน ของเสีย
ที่เกิดจากเมแทบอลิซึมของเซลล์ก็จะแพร่ออกมาสู่ภายนอกเซลล์อีกด้วย ดังนั้นเพื่อความอยู่รอดของเซลล์
ร่างกายจึงต้องมีกระบวนการนำ�สารอาหารไปทดแทนและนำ�ของเสียออกมาสู่ภายนอกร่างกาย การลำ�เลียง
ในสัตว์กลุ่มนี้จึงมีระบบพิเศษเพื่อช่วยให้การลำ�เลียงสารอาหารและสารอื่นๆ ที่จำ�เป็นแก่การดำ�รงชีวิต
เกิดข ึ้นอย่างมีป ระสิทธิภาพ ระบบด ังกล่าว คือ ระบบไหลเวียนโลหิต สัตว์ส่วนใหญ่มีร ะบบไหลเวียนโลหิต
แบบปิด ยกเว้นส ัตว์ไม่มีก ระดูกส ันห ลังบางพ วกที่มีระบบไหลเวียนโลหิตแบบเปิด
5.2.1 ระบบไหลเวียนโลหิตแบบเปิด การไหลเวียนโลหิตที่เกิดขึ้นในระบบนี้จะไม่อยู่ใน
เส้นโลหิตต ลอดเวลา โลหิตจ ะถ ูกส ่งอ อกจ ากห ัวใจผ ่านไปต ามเส้นโลหิตร ะยะห นึ่ง และโลหิตจ ะไหลป ะปนอ ยู่
กับอวัยวะภายในของร่างกายแล้วจึงไหลย้อนกลับสู่หัวใจเป็นการครบวงจร การไหลเวียนโลหิตแบบเปิดนี้
พบในสัตว์หลายชนิด เช่น หอย ปู แมงมุม และแ มลงชนิดต่าง ๆ