Page 40 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 40

14-30 หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและบริบททางภาษา

เรอื่ งท​ ี่ 14.2.4 	ปัญหาจ​ ากป​ ระสบการณ​์ครูผ​ ส​ู้ อน
	 ก​ ารเ​ขยี นภาษาองั กฤษ

       การ​เขียนภ​ าษา​อังกฤษน​ ั้น ไม่ใช่​แค่เ​พียงก​ าร​เขียนใ​ห้ถ​ ูกต​ ้องต​ ามห​ ลักไ​วยากรณ์เ​ท่านั้น หาก​แต่ว​ ่า​ผู้​
เขียนต​ ้องส​ ามารถว​ างแผนก​ ารเ​ขียนว​ ่าต​ ้องการจ​ ะเ​ขียนค​ วามเ​รียงป​ ระเภทใ​ด เช่น ความเ​รียงป​ ระเภทบ​ รรยาย
ประเภท​เรื่อง​เล่า ประเภท​ขั้นต​ อน เป็นต้น โดย​ผู้เ​ขียนต​ ้องส​ ามารถ​สื่อ​ความห​ มายใ​ห้​ผู้​อ่าน​เข้าใจ​ได้​เพราะ​งาน​
เขยี นเ​ปน็ การส​ ือ่ ค​ วามท​ างเ​ดยี ว (one-way communication) ถา้ ​เกดิ ค​ วามผ​ ดิ พ​ ลาดอ​ าจท​ �ำ ใหค​้ วามเ​ขา้ ใจข​ อง​
ผู้อ​ ่าน​คลาดเ​คลื่อน​ได้ หลัง​จากท​ ี่เ​ขียนแ​ ล้ว​ผู้​เขียน​ควร​ตรวจ​สอบ แก้ไข และต​ รวจท​ านอ​ ีกค​ รั้ง​อย่างร​ อบคอบ​
เสียก​ ่อนเ​พื่อป​ ้องกันค​ วามผ​ ิดพ​ ลาดท​ ี่อ​ าจจ​ ะเ​กิดข​ ึ้น ไม่ว​ ่าจ​ ะเ​รื่องไ​วยากรณ์ เครื่องหมาย รวมถ​ ึงก​ ารส​ ื่อค​ วาม​
หมาย (ศิตา​ เยี่ยมข​ ันติถ​ าวร 2555) แตจ่​ ากป​ ระสบการณข์​ องก​ ารส​ อนภ​ าษาอ​ ังกฤษน​ ั้น เราส​ ามารถส​ รุปป​ ัญหา​
ที่​ได้​พบ​เจอ​จากก​ ารเ​ขียนท​ ี่​ได้ร​ วบรวมไ​ว้ด​ ังนี้

       1. 	 การ​เรียบ​เรียงเ​นื้อหา (content) ในบ​ างค​ รั้งไ​ม่ส​ ามารถส​ รุป​เนื้อหา​สาระ​ที่จ​ ะ​ใช้เ​ขียน เพื่อใ​ห้ต​ รง​
ประเด็นไ​ด้ ไม่มีใ​จความ​หลัก​หรือ main idea ผู้เ​ขียนม​ ักจ​ ะเ​ขียน​ไปเ​รื่อยๆ จนอ​ ่าน​ไม่​เข้าใจแ​ ละไ​ม่​สามารถ​
สรปุ จ​ บไ​ด้ ดงั น​ ัน้ ผ​ สู​้ อนจ​ งึ ต​ อ้ งฝ​ กึ ก​ ารใ​ชค​้ วามค​ ดิ ก​ อ่ นใ​นข​ ัน้ ต​ น้ เพือ่ ใ​หเ​้ กดิ ก​ ารแ​ สดงค​ วามค​ ดิ เ​หน็ อ​ ยา่ งช​ ดั เจน
มี​เหตุผล​สนับสนุน ตรงป​ ระเด็น และเ​ชื่อม​โยงค​ วามค​ ิดอ​ ย่างต​ ่อ​เนื่อง

       2. 	 รปู แ​ บบ (form) ผเู​้ ขยี นไ​มท​่ ราบว​ า่ โ​ครงสรา้ งข​ องก​ ารเ​ขยี นภ​ าษาอ​ งั กฤษเ​ปน็ เ​ชน่ ไ​ร ไมร่ จู​้ ดุ ป​ ระสงค​์
ที่​เด่น​ชัด​ใน​การ​เขียน​ของ​ตน และ​ไม่​ทราบ​ลักษณะข​ อง​งาน​เขียน​ว่า​สามารถแ​ บ่ง​ออก​เป็น​ประเภท​ต่างๆ ศิต​า
เยี่ยมข​ ันติ​ถาวร 2555 ได้ร​ ะบุไ​ว้​ว่า การ​เขียนค​ วามเ​รียงใ​นภ​ าษาอ​ ังกฤษ​นั้น สามารถ​แบ่ง​ออก​ได้​เป็นป​ ระ​เภท​
ใหญ่ๆ ได้ด​ ังนี้

            1) 	ประเภท​เรื่องเ​ล่า (narrative) เป็นการ​เขียนเ​ล่าเ​รื่อง เหตุการณ์ ตาม​ลำ�ดับ​เวลาท​ ี่​เกิด
            2) 	ประเภท​บรรยาย (descriptive) เป็นการเ​ขียน​บรรยายถ​ ึงค​ น สัตว์ สถาน​ที่ สิ่งของ และ​
ความ​คิด
            3) 	ประเภทบ​ อก​ขั้นต​ อน (process) เป็นการ​เขียนถ​ ึงว​ ิธีก​ าร​ตาม​ลำ�ดับข​ ั้นต​ อน
            4) 	ประเภทช​ ักชวน (persuasive paragraph) เป็นการเ​ขียน​เพื่อโ​น้มน​ ้าว​จิตใจ​ผู้​อ่าน
       เมื่อผ​ ู้​เรียนไ​ม่​สามารถเ​ข้าใจถ​ ึง​วัตถุประสงค์ ก็​จะ​ไม่​สามารถ​เขียนใ​ห้​เข้า​กับ​รูป​แบบ​ได้
       3. 	 ปัญหา​ใน​เรื่อง​ไวยากรณ์ (grammar) ซึ่งห​ มายถ​ ึง การใ​ช้​โครงสร้างท​ างไ​วยากรณ์ท​ ี่ถ​ ูกต​ ้อง​และ​
สื่อค​ วามห​ มายไ​ด้ ปัญหา​ทาง​ไวยากรณ์​ของ​เด็กไ​ทยม​ ี​มากมาย และ​มีอ​ ยู่​ใน​ทุก​รูป​แบบ ตั้งแ​ ต่ก​ ารใ​ช้ค​ ำ�นำ�​หน้า​
นาม (article) การ​ใช้​เอกพจน์ พหูพจน์ การใ​ช้ tense ทั้ง 12 ในภ​ าษาอ​ ังกฤษ
       4. 	 ลีลาใ​น​การ​เขียน (style) ได้แก่ การเ​ลือก​โครงสร้าง เลือกค​ ำ� และ​สำ�นวน​ต่างๆ ซึ่ง​สัมพันธ์​กับ​
วัฒนธรรม​ของ​เจ้าของ​ภาษา​ด้วย ผู้​เขียน​คน​ไทย​ไม่​ค่อย​รู้​คำ�​ศัพท์ ใน​บาง​ครั้ง​มัก​ใช้​วิธี​การ​เปิด​พจนานุกรม
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45