Page 37 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 37
ปัญหาก ารอ่านแ ละการเขียนภ าษาอ ังกฤษ 14-27
เรือ่ งท่ี 14.2.3 ปญั หาจ ากว ธิ กี ารเรยี นก ารส อนการเขยี นภาษาองั กฤษ
การเรียนก ารส อนก ารเขียนเป็นเรื่องย ากเรื่องห นึ่งท ี่ส ร้างค วามก ังวลใจให้ค รูผ ู้ส อนไม่น ้อย มีผ ู้ส อน
หลายท ่านได้ร ะบุข ั้นต อนในการส อนก ารเขียนภาษาต ่างประเทศโดยท ั่วไปไว้ เช่น
ริเวอร์ (River, 1968) ได้ก ล่าวถ ึงก ารเขียนภ าษาต่างประเทศไว้ว ่า ผู้ท ี่จ ะเขียนได้รับก ารฝ ึกฝนอย่าง
เป็นระบบจ ากง ่ายไปหาย าก 5 ขั้นต อนด ังนี้
1. การล อกเลียนแ บบ (copying) เป็นข ั้นแ รกท ีผ่ ูเ้รียนจ ะไดร้ ับก ารฝ ึกใหค้ ุ้นก ับต ัวอ ักษรโครงสร้าง
ของป ระโยค และเครื่องหมายวรรคตอนต ามแบบแผนที่กำ�หนดให้
2. การถ อดแ บบ (reproduction) เป็นการเขียนประโยคห รือข้อความท ี่เคยเรียนม าแล้วทั้งการฟ ัง
การอ ่าน การคัดลอก และก ารจำ�มาเขียนซ ํ้าโดยไม่ด ูต ้นฉบับ แล้วต รวจค ำ�ตอบจากประโยคต ้นฉบับ
3. การเขียนป ระโยค(recombination) เป็นการน ำ�คำ�หรือประโยคท ี่เคยเรียนม าแล้ว ทั้งการฟัง
การอ่าน การคัดลอก และการจำ�แต่ความซับซ้อนในด้านโครงสร้างของประโยคมาเปลี่ยนแปลงคำ�บางคำ�
นำ�มาใช้ให้เหมาะก ับเรื่อง
4. การเขียนประโยคจากสิ่งที่กำ�หนด (guided Writing) ในชั้นนี้ผู้เขียนมีอิสระในการเลือกใช้
คำ�ศัพท์และโครงสร้างมากขึ้น แต่ยังอ ยู่ในขอบเขตข องง านที่ก ำ�หนดให้
5. การเรยี งค วาม (composition) ผูเ้ ขยี นม อี ิสระม ากข ึน้ ในก ารเขียน ทำ�โครงเรือ่ งเอง สามารถเลือก
คำ�ศัพท์ โครงสร้างข องประโยคมาใช้เขียนเรื่องข องต นได้
คริสเนอร ์และแ มนเดล (Kriszner and Mandell, 1984 อ้างถ ึงใน ทิพย์วรรณ ธงภ ักดิ์ 2543) มี
ความค ิดเห็นสอดคล้องกันว่าการฝ ึกทักษะก ารเขียน มีข ั้นตอนใหญ่ 3 ขั้นตอน คือ
1. การฝึกเขียนในระยะเริ่มต้น เป็นเพียงการเขียนประโยคสั้นๆ จากคำ�ศัพท์และโครงสร้างที่
นักเรียนเรียนมาแล้ว หรือเติมค ำ�ในป ระโยคให้ได้สมบูรณ์
2. การเขียนตามกรอบที่กำ�หนดให้ (controlled composition) เป็นการเขียนท ี่ครูเลียนแ บบให้
เป็นการฝ ึกใช้ค ำ�หรือรูปประโยคที่เรียนม าแล้ว เพื่อฝึกให้เกิดความแ ม่นยำ�ในภ าษายิ่งขึ้น
3. การเขยี นแ บบช ีแ้ นะ (guided composition) การเขยี นแ บบน คี้ รตู อ้ งช ีแ้ นะใหค้ �ำ ศพั ทร์ ปู ป ระโยค
และการค ิดในการเรียบเรียง มีขั้นตอนก ารเขียนด ังนี้
1) ขั้นก่อนการเขียน (prewriting) เป็นการส ร้างค วามมั่นใจให้กับนักเรียนก ่อนลงมือเขียน
จริง หรืออ าจเป็นการส นทนา หรือป รึกษาหารือร ่วมกันเกี่ยวกับเรื่องท ี่จ ะเขียน
2) ขั้นการเขียน (writing) ให้นักเรียนลงมือเขียนเป็นแบบร่างก่อนให้นักเรียนช่วยกันนำ�
ความคิดที่ได้จากการเขียนมาเขียนโดยไม่ต้องกังวลเรื่องของความถูกต้อง ตัวสะกด หรือการเรียบเรียง
รูปประโยค แต่เน้นในเนื้อเรื่องเป็นสำ�คัญ