Page 38 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 38

14-28 หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและบริบททางภาษา

            3) 	ขั้น​ตรวจ​ทาน (revising) นักเรียนจ​ ะ​อ่าน​ทบทวน​สิ่ง​ที่​เขียน​ไป​แล้ว​มี​การ​ตรวจ​สอบ​เรื่อง​
ตัวส​ ะกด คำ�​ผิด หรือเ​ครื่องหมาย​วรรค​ตอน ทั้งนี้​เพื่อใ​ห้การเ​ขียน​สื่อค​ วาม​หมาย​ได้

            4) 	ขั้นก​ ารฝ​ ึก​เขียน (rewriting) เป็นข​ ั้นส​ ุดท้าย​ของ​การฝ​ ึกเ​ขียน ถือเ​ป็น new writing ใน​
ขั้นน​ ี้น​ ักเรียนต​ ้องท​ ำ�​เนื้อ​เรื่อง​ที่​เขียน​ไป​แล้ว​ทำ�ให้​สมบูรณ์​พร้อม​ที่​จะ​รายงานห​ รือ​เขียนส​ ่ง​ครู​ได้

       จาก​ขั้นต​ อน​และ​วิธี​การ​ที่​กล่าวม​ าน​ ั้น อาจพ​ ูด​ได้​ว่า การ​เขียนเ​ป็นเ​รื่องล​ ะเอียดอ​ ่อน​มาก เพราะ​ต้อง​
ประกอบด​ ้วยข​ ั้น​แรก การเต​รี​ยม​เขียน การ​รู้ค​ ำ�​ศัพท์ การร​ ่าง และท​ ี่​สำ�คัญค​ ือ การ​ฝึกฝน ผู้ส​ อน​หลาย​ท่าน​
จึง​ไม่​มั่นใจ​ว่า​ควร​จะ​เริ่ม​วิธี​การ​สอน​จาก​ที่​ใด จึง​จะ​เหมาะ​สม​กับ​ผู้​เรียน​คน​ไทย​ที่สุด เพราะ​สิ่ง​ที่​สำ�คัญ​ของ​
ผู้​เขียน​คน​ไทย คือก​ าร​เขียน​โดย​การคัดล​ อก และ​เขียนโ​ดยก​ ารแ​ ปล​คำ�​ต่อค​ ำ� จากภ​ าษาไ​ทย​เป็น​ภาษาอ​ ังกฤษ
มี​ผู้​สอน​คน​ไทย​พยายาม​หา​วิธี​ที่​จะ​ทำ�ให้​ผู้​สอน​และ​ผู้​เรียน​คน​ไทย​สามารถ​บรรลุ​เป้า​หมาย​ของ​การ​เรียน​การ​
สอน​การเ​ขียน เช่น ฐะ​ปะน​ ีย์ นาครท​ รร​ พ (2545: 55-56) ได้​เสนอว​ ิธี​การ​สอน​ทักษะ​การเ​ขียน​ไว้ด​ ังนี้

       1. 	ก่อน​สอน​ครู​ควร​พูด​จูงใจ​ให้​ผู้​เรียน​เห็น​ความ​สำ�คัญ​ของ​การ​เขียน​หนังสือ​ให้​ถูก​ต้อง​ชัดเจน​ว่า
การ​เขียน​หนังสือ​ถูก​ต้อง ชัดเจน เป็นการแ​ สดง​ว่า​ผู้​เขียน​เป็น​ผู้​มี​การ​ศึกษา​ดี ใคร​อ่าน​ข้อ​ความ​นั้นๆ ก็​อ่าน​
เข้าใจ​ง่าย ไม่มี​การ​เข้าใจผ​ ิด​และ​ควรอ​ ธิบายใ​ห้เ​ข้าใจป​ ระโยชน์ท​ ี่ไ​ด้จ​ ากก​ ารเ​ขียน​แต่ละ​ประเภทด​ ้วย

       2. 	พยายาม​สอน​ให้การ​เขียน​สัมพันธ์​กับ​การ​ฟัง การ​พูด และ​การ​อ่าน​วิธี​สอน​ที่​จะ​ให้​สัมพันธ์​กับ​
ทักษะ​อื่น ก็​คือ ก่อน​ที่​จะ​เขียน​สิ่ง​ใด​ควร​ริเริ่ม​จาก​การ​ฝึก​ให้​รู้จัก​ฟัง​เสีย​ก่อน​แล้ว​จึง​เขียน เช่น ให้​ฟัง​คำ�ถาม​
แล้ว​เขียน​ตอบ​ให้​ตรง​คำ�ถาม เก็บ​สิ่ง​ที่​ได้​ฟัง​จาก​การ​บรรยาย​ไป​เขียน​หรือ​ให้​อภิปราย​กัน​ใน​เรื่อง​ที่​เขียน
จน​แน่ใจ​ว่า​ผู้​เรียน​มี​ความ​รู้ และ​มี​ความ​คิด​ที่​จะ​เขียน​เกี่ยว​กับ​สิ่ง​นั้นๆ เสีย​ก่อน​แล้ว​จึง​ให้​เขียน บาง​ครั้ง​ครู​
อาจ​กำ�หนด​ให้​ผู้​เรียนอ​ ่านห​ รือค​ ้นคว้าเ​พิ่ม​เติม​จาก​หนังสือใ​น​ห้อง​สมุดม​ าเ​ขียน​ด้วย

       3. 	ใน​กรณี​ที่​ผู้​เรียน​เขียน​ตัว​สะกด​หนังสือ​ผิด​พลาด​นั้น ครู​ควร​หา​อุบาย​ให้​ผู้​เรียน​เกิด​ความ​รู้สึก​
เต็มใจ​ที่​จะ​แก้​ข้อ​บกพร่อง​ผิด​พลาด​ของ​ตน ดี​กว่า​ทำ�โทษ​ให้​แก้​แล้ว​แก้​อีก ผู้​เรียน​เบื่อ​หน่าย​ไม่​เกิด​ผล​ดี​แต่​
อย่างใ​ด วิธแี​ กอ้​ าจท​ ำ�ไดโ้​ดยร​ วบรวมค​ ำ�​ทีผ่​ ูเ้​รียนม​ ักส​ ะกดผ​ ิดเ​สม​ อๆ เขียนบ​ นก​ ระดานด​ ำ�​หรือเ​ขียนใ​สบ่​ ัตรค​ ำ�
นำ�​ไป​ปิด​ไว้​บน​ป้ายป​ ระกาศข​ อง​ชั้น ครูม​ อบ​หน้าที่ใ​ห้​เด็ก​เขียน​บัตร​คำ�​ก็ได้ เมื่อร​ วมค​ ำ�​ที่​ติด​ไว้ม​ าก​แล้ว ควร​
ทดสอบ​คำ�​เหล่า​นั้นเ​ป็นร​ ะย​ ะๆ หรือ​อาจใ​ห้​ผู้เ​รียนเ​ขียน​สถิติก​ าร​เขียนค​ ำ� ถูก​ต้อง​แต่ละ​ครั้งข​ อง​ตนเองไ​ว้ก​ ็ได้
ใน​บาง​ครั้งอ​ าจใ​ห้​แข่งขัน​สะกด​คำ�​ถูก​บ้าง​ก็ได้ ทั้งนี้​เป็นการช​ ่วยใ​ห้ผ​ ู้​เรียน​รู้จักร​ ะมัดระวังม​ ิ​ให้เ​ขียน​ผิด

       4. 	การจ​ ัด​กิจกรรมต​ ่างๆ เช่น ให้ท​ ำ�​หนังสือส​ ำ�หรับช​ ั้น หรือ​ประกวดก​ ารเ​ขียนน​ ิทาน หรือป​ ระกวด​
การ​เขียนเ​รื่องจ​ ริง​ที่​ได้ป​ ระสบม​ าด​ ้วย​ตนเอง เป็นการส​ ่ง​เสริมท​ ักษะก​ าร​เขียนข​ อง​ผู้​เรียนไ​ด้​เหมือนก​ ัน

       5. 	ในก​ ารส​ อนว​ ชิ าต​ า่ งๆ มกั มโ​ี อกาสท​ จี​่ ะฝ​ กึ ท​ กั ษะเ​ขยี นไ​ดเ​้ สมอค​ รท​ู สี​่ อนภ​ าษาไ​ทยค​ วรป​ รกึ ษาห​ ารอื ​
กับ​ครู​ที่​สอน​วิ​ชา​อื่นๆ เพื่อ​ช่วย​กัน​หรือ​ร่วม​มือ​กัน​สอน​ให้​สาระ​วิชา​ต่างๆ สัมพันธ์​กัน โดย​ใช้​เนื้อหา​วิชา​อื่น
​สำ�หรับ​ฝึก​ทักษะ​เขียน​ก็ได้ เช่น สังคมศึกษา วิทยาศาสตร์ ฯลฯ อาจ​ให้​เขียน​เรียง​ความ หรือ​รายงาน​ใน​
วิช​ า​นั้นๆ ก็ได้

       กรมว​ ชิ าการไดร​้ ะบว​ุ า่ การส​ อนก​ ารเ​ขยี นท​ สี​่ �ำ คญั คอื การม​ ก​ี จิ กรรมก​ ารเ​ขยี นใ​หผ​้ เู​้ รยี นไ​ดฝ​้ กึ ฝนอ​ ยา่ ง​
ต่อ​เนื่อง โดยก​ รมว​ ิชาการ (2542) ได้​เสนอก​ ิจกรรมก​ าร​เขียนภ​ าษา​อังกฤษ​ไว้ 5 แบบ ดังนี้
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43