Page 34 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 34
14-24 หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและบริบททางภาษา
อัจจิม า เกิดผล (2533: 73) กล่าวถ ึงก ารเขียน คือ การส ื่อความห มายโดยมีต ัวอ ักษรเป็นเครื่องม ือ
ในการส่งส ารให้ผู้อ ่านได้ท ราบค วามรู้ ความค ิด และความรู้สึกข องผ ู้เขียน
อาราพอฟ (Araroff, 1975: 118-120) และแ มคคร ิมอน (McCrimon, 1978: 3) ได้ให้ความห มาย
ของการเขียนที่คล้ายคลึงกันว่า การเขียน คือ วิธีสื่อความหมายหรือถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก อารมณ์
ประสบการณ์ ตลอดจนเรื่องราวต่างๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจตามเจตนารมณ์ของผู้เขียนที่แสดงออกมาในลักษณะ
สัญลักษณ์ห รือต ัวอ ักษร
ฟล าวเวอร์ (flower, 1979) ได้ให้ท ัศนะเกี่ยวก ับก ารเขียนว่าเป็นกระบวนการในการส ร้างความคิด
และก ารเชื่อมโยงค วามร ู้เดิมม าใช้ในก ารส ร้างค วามร ู้ใหม่ ในก ารเขียนน ั้นม ีก ระบวนการร วบรวมแ ละจ ัดเรียง
ข้อมูลอ ย่างม คี วามห มายต ามห ลักก ารใชภ้ าษ าโดยค ำ�นึงถ ึงค วามร ู้สึกข องผ ูอ้ ่านอ ย่างต ่อเนื่อง มกี ารต รวจท าน
ความเหมาะข องภาษาท ี่ใช้เพื่อให้สื่อความได้อ ย่างชัดเจนท ี่สุด
สเวลส์ และฟีค (Swales & Feak, 1994: 34) กล่าวว่า การเขียนเป็นกระบวนการที่ซับซ้อน
เกี่ยวกับตัวอักษรที่ได้บันทึกไว้ในกระดาษ หรือวัสดุอื่นๆ และบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ ซึ่งต้องอาศัย
ทักษะท างภาษาต่างๆ เช่น ระบบการเขียน ไวยากรณ์ห รือโครงสร้างทางภาษา ตลอดถ ึงค ำ�ศัพท์ มาเรียบเรียง
เป็นอนุเฉท (Paragraph) ที่เหมาะสม รวมไปถึงจุดประสงค์ของผู้เขียนที่ต้องการจะสื่อความหมายและ
ปฏิกิริยาจากผู้อ ่านด ้วย
รีด (Reid, 1994) ได้กล่าวถึงการเขียนว ่า เป็นหนทางหนึ่งข องการเรียนรู้และการสื่อสาร (A Mean
of Learning and Communication) โดยเกี่ยวข้องก ับก ารพ ัฒนาค วามค ิดเพื่อท ีจ่ ะเขียนใหผ้ ูอ้ ่านเข้าใจ และ
เป็นทักษะที่ต้องได้รับการฝ ึกฝนอย่างต ่อเนื่อง
ฟินอค ชิโร และโบโนโม (Finocchiaro, M. and Bonomo, M., 1973) กล่าวว ่า การเขียน คือก ารค ิด
ที่แสดงออกในลักษณะข องต ัวอ ักษร นักเรียนจะแสดงส ิ่งที่อยู่ในใจ ความคิดแ ละประสบการณ์แ ละอ ารมณ์
ออกม าก ับต ัวอักษรเหล่าน ั้น
ลาโด (Lado, 1964) กล่าวว่า การเขียน คือ การสื่อค วามหมายด้วยอักษรซ ึ่งเป็นท ี่เข้าใจก ันระหว่าง
ผ ูเ้ขียนแ ละผ ูอ้ ่าน เป็นการใชภ้ าษาเพื่อก ารส ื่อสารโดยก ารเรียบเรียงข ้อความต ามล ักษณะโครงสร้างข องภ าษา
ที่ใช้โดยใช้ร ูปแบบให้ต รงก ับจ ุดป ระสงค์ของการเขียนแต่ละเรื่อง ตลอดจ นส ำ�นวนได้อย่างถ ูกต้อง
บมี (Byme, 1982 อา้ งถ งึ ใน บญั ชา อึง๋ ส กลุ 2545: 52-70) กลา่ วว า่ การเขยี นไมไ่ ดห้ มายถ งึ ล ายล กั ษณ์
อักษรห รอื ก ารเขียนเป็นป ระโยคๆ แตห่ มายถ งึ ความส ามารถน �ำ ความร ู้สึกน ึกคดิ ส ำ�นวน และร ปู ป ระโยคต ่างๆ
มาเรียบเรียงให้เกิดเป็นภาษาเขียนตรงต ามจุดป ระสงค์ข องต น
วินโดสัน (Widdowson, 1978) ได้ก ล่าวถึงก ารเขียนว่าทักษะก ารเขียน คือ การเรียบเรียงค วามคิด
อย่างมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่านการเขียนไม่ใช่เป็นการนำ�ประโยคมา
เขียนเรียงต่อๆ กันเท่านั้น ผู้เขียนจ ะต ้องรู้จักเรียบเรียงป ระโยคให้เป็นข้อความท ี่ส ามารถสื่อสารและท ำ�ให้ผู้
อ่านเข้าใจในแ นวค วามค ิดข องข ้อค วามน ั้นๆ ซึ่งถ ือว่าเป็นกร ะบ วนก ารท ีผ่ ูเ้ขียนต ้องถ ่ายทอดค วามค ิด ความร ู้
ของตนอ อกม าให้ผ ู้อ ื่นได้เข้าใจเหมือนผู้เขียน ซึ่งต ้องอาศัยความรู้ความสามารถในด้านศ ัพท์ ไวยากรณ์ การ
ใช้ถ้อยคำ�สำ�นวนท ี่สละส ลวย ตลอดจนพ ื้นฐานท างด ้านว ิจารณญาณและจินตนาการด้วย