Page 32 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 32
14-22 หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและบริบททางภาษา
เร่อื งท ี่ 14.2.1 ความส �ำ คญั ข องก ารเขียนภ าษาอ งั กฤษ
การเขียนภาษาอังกฤษเป็นกระบวนการรวบรวมความคิดที่ได้จากทักษะการเรียนรู้ทั้ง 4 ทักษะใน
การเรียนภาษาคือฟ ัง พูด อ่านและเขียน
อย่างไรก็ดี จากการที่คนไทยไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารนอกห้องเรียนหรือมีโอกาสน้อยที่
จะใช้ภ าษาอ ังกฤษท ำ�ให้ค นไทยแ ละเด็กไทยเรียนภ าษาอ ังกฤษอ ย่างไม่เป็นธ รรมชาติแ ละไม่ส ามารถใช้ภ าษา
นี้ในการสื่อสารนอกห้องเรียนได้ เมื่อกระแสโลกาภิวัตน์เปลี่ยนแปลงโลกและภาษาข องประเทศม หาอำ�นาจ
เช่น สหรัฐอเมริกากลายเป็นภ าษาข องค นท ั่วโลกร วมทั้งย ังเป็นภาษาท ี่ 10 ประเทศในก ลุ่มอาเซียนจ ะใช้เป็น
ภาษาของการสื่อสารระหว่างกัน ทำ�ให้คนไทยไม่สามารถเพิกเฉยหรือละเลยการเรียนรู้ภาษาที่เป็น “ยาขม”
มาทุกสมัยอีกแล้ว เราจึงต้องหันมาแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในทุกทักษะและพัฒนาการเรียนให้ถูกทางและนำ�
ความรู้จ ากห้องเรียนไปส ู่โลกกว้างได้อ ย่างมีประสิทธิภาพ
การเขียนภ าษาอ ังกฤษเป็นการส ื่อสารท ี่เป็นร ูปธ รรม คนไทยท ี่ม ีเพื่อนเป็นค นต ่างช าติส ่วนใหญ่ต ้อง
ใช้ท ักษะนี้ทุกวัน เช่น เขียนอ ีเมล เฟซบุ๊ก เขียนข้อความสั้นๆ เช่น โน้ตต ่างๆ หากเป็นนักเรียนก็ต้องเขียน
การบ้านแ ละเรียงค วามส ัน้ บ ้างย าวบ า้ งแ ล้วแ ตร่ ะดบั ก ารเรยี นส ง่ ค รู คนไทยท ที่ ำ�งานก บั บ รษิ ทั ข ้ามช าตอิ าจต อ้ ง
เขียนร ายงาน เขียนบ ทความ สรุปง านว ิจัยแ ละบ างค นท ี่เพิ่งเรียนจ บห รือเตรียมต ัวไปต ่างป ระเทศก ็ต ้องก รอก
ใบส มคั รเปน็ ภ าษาอ งั กฤษ ตอ้ งเขยี นจ ดหมายส มคั รง านเปน็ ภ าษาอ งั กฤษน อกเหนอื จ ากก ารส มั ภาษณท์ ตี่ อ้ งใช้
ภาษาพ ูดโดยตรง ปัจจุบันห น่วยง านต ่างๆ ถนนห นทาง เมนอู าหาร รายการโทรทัศนแ์ ละห นังสือพิมพไ์ทยก ม็ ัก
จะม ภี าษาอ ังกฤษแ ทรกห รือผ สมอ ยูใ่นภ าษาเขียนข องไทย การเขียนจ ึงม บี ทบาทในท ุกด ้าน นักเรียนน ักศึกษา
ที่ห าง านในห นังสือพิมพ์ภ าษาอ ังกฤษก ็ค งค ุ้นต าก ับส ำ�นวนท ี่ว ่า ผู้ส มัครท ี่บ ริษัทห รือห น่วยง านต ่างๆ ต้องการ
ต้องมีคุณสมบัติท ี่เรียกว่า ‘Good command of speaking and writing English’ ซึ่งห มายถ ึง “มีความ
เชี่ยวชาญในการพูดและเขียนภาษาอ ังกฤษ” การเขียนภาษาอังกฤษจ ึงเป็นส ิ่งท ี่ห ลีกเลี่ยงไม่ได้อีกต ่อไป
ในการเรียนการสอนทักษะการเขียนจึงเป็นสิ่งสำ�คัญยิ่งในปัจจุบัน โดยทั้งผู้เรียนและผู้สอนต้อง
เข้าใจห ลักก ารเขียนเพื่อน ำ�ไปป ระยุกต์ป ฏิบัติ และฝ ึกฝนได้ การเรียนร ู้เรื่องห ลักก ารเขียนน ั้นเหมือนก ับห ลัก
การเรียนท ักษะอ ื่นๆ อาจจ ะแ ตกต ่างก ันในร ายล ะเอียด บราว น์ และพ าล ินส การ ์ (Brown & Palinscar, 1982)
กล่าวถึงว ิธีการเรียนรู้ถ ึงทักษะก ารเขียนว่ามี 2 วิธีหลักๆ คือ วิธีก ารเรียนรู้แ บบพหุปัญญา (Metacognitive
strategies) และแบบพุทธิป ัญญา (Cognitive strategies)
การเรียนการเขียนโดยวิธีการแบบพหุปัญญา (Metacognitive strategies) เป็นกระบวนการ
เรยี นร จู้ ากส ิง่ ร อบข ้างซ ึ่งผ เู้รยี นส ามารถเรยี นร ไู้ ดด้ ว้ ยต นเองเช่นการว างแผนในก ารเรียน การค น้ ควา้ เพิม่ เตมิ
การท ำ�กิจกรรมต่างๆ เพื่อก ารเสริมแ ละเพิ่มเติมจ ากส ิ่งท ี่เป็นพื้นฐ านความร ู้ วิธีการแ บบพ หุป ัญญานี้ช่วยให้
ผู้เรียนประเมินค วามสามารถห รือความสำ�เร็จข องตนเองได้ วิธีแ บบ Metacognitive จึงเป็นภาพใหญ่ของ
การเรียนร ู้ ในท ักษะก ารเขียนผ ู้เรียนส ามารถใช้ป ัญญาท างด ้านน ี้ได้ทั้งในและน อกห ้องเรียน คือในห้องเรียน