Page 36 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 36
14-26 หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและบริบททางภาษา
2. การระดมความคิด (brainstorming) ผู้เขียนต้องระดมความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่จะเขียน อาจ
ทำ�ได้โดยเขียนค ำ�ศัพท์ วลี ประโยค หรือป ระโยคท ี่เกี่ยวข้องก ับห ัวเรื่องท ี่จ ะเขียน ผู้เขียนอ าจจ ะท ำ�ในร ูปข อง
แผนภาพ กรอบแนวคิด (concept mapping)
3. จัดระบบความคิด (organizing) หลังจากเรื่องได้สิ่งที่จะเขียนแล้ว ผู้เขียนต้องกำ�หนดกรอบ
เนื้อหา โดยต้องตัดสินใจว่าจะพูดเกี่ยวกับอะไรบ้าง อาจตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับความเรียงที่จะเขียนด้วยคำ�ถาม
What? When? Why? How? Where? และ Who? แล้วต อบคำ�ถามเหล่าน ั้น โดยตัดสิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องอ อก
ไปเพื่อไม่ให้หลงป ระเด็น
4. วางโครงร ่าง (outlining) การเขียนโครงร ่างในแ ต่ละย ่อหน้าส ำ�คัญม าก ทำ�ใหเ้ราส ามารถก ำ�หนด
สิ่งที่เราจะเขียนให้เป็นรูปธรรมและเป็นลำ�ดับมากขึ้น โดยผู้เขียนสามารถตรวจสอบสิ่งที่เราจะเขียนว่า
โครงร ่างมีค วามเป็นอ ันหนึ่งอ ันเดียวกัน (unified) หรือไม่
5. ร่าง (drafting) นำ�กรอบเนื้อหาท ี่ตัดสินใจว่าจะเขียน มาลองร่างให้เกิดเป็นเค้าโครงคร่าวๆ ของ
ความเรียงข ึ้นต ามโครงเรื่องที่เราว างเอาไว้
6. การล งมือเขียน (writing) เขียนต ามท ีไ่ดร้ ่างเอาไวต้ ามร ายล ะเอียดเกี่ยวก ับโครงสร้างต ่างๆ ของ
ความเรียง
7. แก้ไข (editing) การแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆเป็นเรื่องที่ส ำ�คัญมากสำ�หรับการเขียนความเรียง
โดยผู้เขียนต้องตรวจทานความเรียงที่เราเขียนให้มีความสมบูรณ์มากที่สุด สิ่งที่ผู้เขียนต้องตรวจสอบเพื่อ
ทำ�การแ ก้ไข คือ การเรียงล ำ�ดับป ระโยค การเชื่อมป ระโยค การใช้ค ำ�ศัพท์ให้เหมาะส มก ับป ระโยคแ ละเนื้อหา
ไม่ใช้คำ�ผิดระดับ เช่น การนำ�คำ�ศัพท์สแลงมาเขียนในค วามเรียงท ี่เป็นแบบเป็นทางการ รวมถ ึงก ารสะกดค ำ�
นอกจากนี้ผ ู้เขียนต ้องต รวจสอบก ารใช้ไวยากรณ์ เช่น Tense, Subject and Verb Agreement, Article
ให้ถ ูกต ้องต ามหลักก าร
ผูเ้รยี นท เี่ ริม่ ต น้ ก ารเขียน หรือแ มแ้ ตเ่ ขียนจ นช�ำ นาญแ ลว้ ก ็ตามจ ำ�เป็นต อ้ งฝ กึ แ ละเขียนต ามห ลกั ก าร
นี้ อาจมีค วามแ ตกต่างในร ายล ะเอียดป ลีกย ่อยข องแต่ละบุคคล สามารถข ้ามข ั้นตอนใดขั้นต อนหนึ่งได้
หลังจ ากศ ึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 14.2.2 แล้ว โปรดป ฏิบัติก ิจกรรม 14.2.2
ในแนวก ารศึกษาหน่วยท ี่ 14 ตอนท ี่ 14.2 เรื่องที่ 14.2.2