Page 35 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 35

ปัญหาก​ ารอ​ ่าน​และก​ าร​เขียนภ​ าษา​อังกฤษ 14-25

       จาก​คำ�​กล่าว​ของ​ความ​หมาย​ของ​การ​เขียน​ข้าง​ต้น​สรุป​ได้​ว่า การ​เขียน​คือ​การ​สื่อ​ความ​หมาย​ของ
​ผู้​ส่ง​สาร​ใน​ด้าน​ความ​รู้ ความ​รู้สึก​นึกคิด​ออก​มา​เป็น​ลาย​ลักษณ์​อักษร​ให้​ผู้รับ​สาร​ได้​รับ​ทราบ​เจตนา​และ​
จุดป​ ระสงค์ท​ ี่ผ​ ู้ส​ ่งส​ ารต​ ้องการ ซึ่งต​ ้องอ​ าศัยค​ วามร​ ู้ ความส​ ามารถใ​นด​ ้านก​ ารถ​ ่ายทอดก​ ระบวนการค​ ิด ความ​
รู้สึก อารมณ์ ประสบการณ์ ผ่านต​ ัว​อักษร คำ�​ศัพท์ ไวยากรณ์ การ​ใช้​ถ้อยคำ�​สำ�นวน​ที่ส​ ละส​ ลวย ตลอด​จน​
พื้น​ฐาน​ทางด​ ้าน​วิจารณญาณแ​ ละ​จินตนาการ (ศิต​า เยี่ยมข​ ันติ​ถาวร 2555)

       ใน​ทางท​ ฤษฎี การเ​ขียนภ​ าษาอ​ ังกฤษ อ๊​อกซฟ​อร์ด (Oxford, 1990) เสนอ​แนะไ​ว้ 6 วิธี คือ
       ก. 	พุทธิป​ ัญญา (Cognitive strategies)
       ข. 	พหุ​ปัญญา (Metacognitive strategies)
       ค. 	การจ​ ำ� (Memory strategies)
       ง. 	 การ​เรียน​เสริม (Compensatory strategies)
       จ. 	การ​เรียน​รู้​แบบ​พึง​พอใจ (Affective strategies)
       ฉ. 	การเ​รียนร​ ู้ท​ างส​ ังคม (Social Strategies) เบนด​ ุร​ า (Bendura, 1977) มีค​ วามเ​ห็นว​ ่า การเ​รียน​รู้​
ประเภท​นี้เ​กิดจ​ ากก​ ารส​ ังเกต​และ​เลียนแ​ บบพ​ ฤติกรรมข​ อง​ตัว​แบบ กระบวนการ​เรียนร​ ู้ท​ าง​สังคมจ​ ะ​ประกอบ​
ด้วย

            -	 ความใ​ส่ใจ (Attention) คือ​สนใจแ​ ละเ​ห็น​ความ​สำ�คัญ ทำ�ให้​มี​มานะแ​ ละย​ ิ่งม​ ี​ตัวอย่าง​ที่​ดี​
ผู้​เรียนก​ ็จ​ ะ​มี​พลัง​ใจใ​นก​ าร​เรียนม​ าก​ขึ้น จัดไ​ด้​ว่า​เป็น​สิ่ง​ที่​สำ�คัญม​ าก เพราะถ​ ้าผ​ ู้​เรียน​ไม่มี​ความ​ใส่ใจใ​นก​ าร​
เรียน​รู้ การเ​ลียนแ​ บบก​ ็จ​ ะไ​ม่​เกิด​ขึ้น

            -	 การจ​ ดจำ� (Retention) เมื่อผ​ ู้เ​รียนม​ ีค​ วามส​ นใจใ​นก​ ารเ​รียน เขาก​ ็จ​ ะส​ ามารถจ​ ดจำ�​สิ่งต​ ่างๆ
เหล่าน​ ั้นไ​ด้

            -	 การ​เลียน​แบบ (Reproduction) เป็นกร​ ะบ​ วน​การ​ที่​ผู้​เรียนแ​ สดง​พฤติกรรมท​ ี่​เหมือนห​ รือ​
ใกล้​เคียงต​ ัว​แบบ

            -	 แรงจ​ ูงใจ (Motivation) เป็นพ​ ลังจ​ ากค​ วามส​ นใจ เห็นค​ วามส​ ำ�คัญ เห็นค​ ุณค่าท​ ำ�ให้ผ​ ู้เ​รียน​
มี​ความ​มุมานะ​และ​ไม่ท​ ้อถอย

2. 	หลัก​การเ​ขยี น​ภาษา​อังกฤษ

       หลักส​ ำ�คัญ​ใน​การเ​ขียน​ภาษา​อังกฤษไ​ด้แก่
       ก. 	การเ​ขียน​ที่​มี​ประเด็นส​ ำ�คัญ (main idea)
       ข. 	การ​เขียนโ​ดยใ​ช้​ภาษา​ง่ายๆ (simple wording)
       ค. 	เขียน​ให้เ​หมาะ​กับ​คนอ​ ่าน (audience-oriented)
       ศิต​า เยี่ยมข​ ันติถ​ าวร (2555) ได้​ระบุ ขั้น​ตอนใ​นก​ ารเ​ขียน​ความ​เรียง (essay) ไว้​ดังนี้
       1. 	 วางแผน (planning) ผู้เ​ขียน​จะ​ต้องก​ ำ�หนดห​ ัวข้อใ​น​การเ​ขียนแ​ ละ​ประเภทข​ องค​ วาม​เรียง​ที่จ​ ะ​
เขียน​ให้เ​รียบร้อยเ​สียก​ ่อน
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40