Page 33 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 33

ปัญหาก​ าร​อ่าน​และ​การ​เขียนภ​ าษาอ​ ังกฤษ 14-23

ก็ส​ ามารถ​ทำ�​กิจกรรมร​ ่วม​กับ​เพื่อน เรียนร​ ู้จ​ ากก​ ันแ​ ละก​ ัน พัฒนา​ทักษะก​ ารเ​ขียน​จาก​การ​ได้​แนวคิด​เมื่อ​ร่วม​
กัน​เรียน​และ​เมื่อ​มีข​ ้อผ​ ิดพ​ ลาดก​ ็ช​ ่วย​กัน​แก้ไข ทำ�ให้​เกิด​การช​ ่วยเ​หลือ​กันใ​นท​ าง​วิชาการ

       การ​เรียน​การ​เขียน​โดย​วิธี​การ​แบบ​พุทธิ​ปัญญา (Cognitive strategies) จาก​ทัศนะ​ขอ​งกาเย่
บริก​ กส์ เวเ​จอร์ (Gagne, Briggs & Wager, 1992) และช​ า​โมต์ (Chamot, 1987) วิธี​การน​ ี้ เป็นกร​ ะบ​ วน​การ​
เรียนร​ ู้ก​ ฎเ​กณฑ์ท​ ี่​ซับ​ซ้อนข​ ึ้น โดยม​ ี​พื้นฐ​ านจ​ ากก​ ารส​ ั่งสมก​ ารท​ ำ�งานแ​ บบง​ ่ายๆ เมื่อม​ ี​การท​ ำ�​ซ้ำ�ๆ กัน มีก​ าร​
วิเคราะห์ และ​แสดง​ความ​คิด​เห็น​หลายๆ​ด้าน​จน​เกิด​ความ​เข้าใจ​แล้ว​พัฒนา​ไป​สู่​เรื่อง​ที่​ยาก​และ​ซับ​ซ้อน​ขึ้น
ในแ​ ง่ก​ ารเ​ขียนภ​ าษาอ​ ังกฤษข​ ั้นข​ องก​ ารพ​ ัฒนาการใ​นก​ ารเ​ขียนส​ ัมพันธก์​ ับอ​ ายขุ​ องเ​ด็ก การไ​ด้ใ​ชภ้​ าษา เช่น ได​้
ฟัง​อย่าง​เข้าใจ ฟังส​ มํ่าเสมอ พูด​เพื่อ​ฝึกฝน​ให้ช​ ำ�นาญแ​ ละ​กล้าล​ อง​ผิดล​ อง​ถูก จน​เรียน​รู้ว​ ิธีก​ าร​พูด อ่าน​อย่าง​
เข้าใจแ​ ละร​ ักก​ ารอ​ ่าน การเ​รียนร​ ู้ท​ ี่​ถูกว​ ิธีแ​ ละค​ ่อยเ​ป็นค​ ่อยไ​ปจ​ ะช​ ่วยบ​ ่มเ​พาะใ​ห้เ​ด็กเ​ขียนไ​ด้แ​ ละม​ ี​พัฒนาการ​
เพราะ​การเ​ขียน​เป็นการ​เรียนร​ ู้​ที่​ต้องใ​ช้เ​วลา

            หลัง​จากศ​ ึกษา​เนื้อหาส​ าระเ​รื่อง​ที่ 14.2.1 แล้ว โปรด​ปฏิบัติก​ ิจกรรม 14.2.1
                    ใน​แนวก​ าร​ศึกษาห​ น่วยท​ ี่ 14 ตอนท​ ี่ 14.2 เรื่อง​ที่ 14.2.1

เรือ่ งท​ ี่ 14.2.2 	แนวคดิ แ​ ละ​หลัก​การเ​ขยี นภ​ าษา​องั กฤษ

1. 	แนวคดิ ก​ ารเ​ขยี น​ภาษา​องั กฤษ

       มี​ผู้​ให้​แนวคิด​เกี่ยว​กับ​การ​เขียน รวม​ถึง​การ​เขียน​ภาษา​อังกฤษ​ไว้​มากมาย ซึ่ง​สามารถ​รวบรวม​ไว้​
ได้​ดังนี้

       เสาวลักษณ์ รัต​นวิชช์ (2531: 92) กล่าว​ว่า ทักษะก​ าร​เขียน​เป็น​ทักษะ​ทาง​ภาษาท​ ี่ต​ ้องใ​ช้​ความ​นึกคิด​
และค​ วามถ​ ูกต​ อ้ งต​ ามห​ ลกั เ​กณฑม์​ ากกวา่ ท​ กั ษะอ​ ืน่ ๆ เพือ่ ใ​หเ้​กดิ ค​ วามห​ มายใ​นเ​ชิงส​ ือ่ สารอ​ ยา่ งม​ ป​ี ระสิทธภิ าพ
ในก​ ารเ​ขียนแ​ ต่ละค​ รั้ง​ผู้เ​ขียนจ​ ำ�​เป็นต​ ้อง​วางแผนว​ ่า​จะเ​สนอแ​ นวคิดอ​ ย่างไร ควรน​ ำ�​เสนอใ​น​รูป​แบบ​ใด​จึงจ​ ะ​
ทำ�ให้​ผู้​อ่านเ​ข้าใจค​ วามห​ มาย และ​ความร​ ู้สึก​นึกคิดข​ อง​ผู้​เขียน

       พิตร​วัลย์ โกว​ ิทว​ที (2537) กล่าวว​ ่า การเ​ขียน หมาย​ถึง การ​รวบรวม​ความค​ ิดค​ วาม​รู้สึก และ​ความ​
ต้องการข​ อง​ผู้​ส่ง​สารออก​มาเ​ป็น​ภาษา​เขียนใ​นล​ ักษณะต​ ่างๆ กัน เพื่อใ​ห้ผ​ ู้รับส​ ารเข้าใจ​จุดป​ ระสงค์​ของ​ตน

       กรม​วิชาการ (2542) กล่าวว​ ่า ทักษะ​การเ​ขียนค​ ือ การแ​ สดงค​ วาม​คิดเ​ห็น​ของผ​ ู้​เขียนที่​ผ่าน​ข้อความ​
ให้​ผู้​อ่าน​เป็น​ภาษา​เขียน​ที่​รวม​ทักษะ​การ​เขียน​ด้วย​ลายมือ​สะอาด​เรียบร้อย​ไม่​ว่า​จะ​เป็น​ตัว​พิมพ์​หรือ​
ตัวเ​ขียน การส​ ะกดค​ ำ� การใ​ชเ้​ครื่องหมายว​ รรคต​ อนแ​ ละก​ ารใ​ชไ้​วยากรณ์ท​ ีถ่​ ูกต​ ้อง​รวมท​ ั้งก​ ารเ​ลือกใ​ชค้​ ำ�​ศัพท์
สำ�นวน​ที่ถ​ ูก​ต้อง​เหมาะ​สม​และ​การนำ�​เสนอเ​รียบ​เรียงเ​นื้อหา​อย่าง​เป็นร​ ะบบ
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38