Page 28 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 28
14-18 หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและบริบททางภาษา
การแนะนำ� reciprocal teaching แก่นักเรียนนั้น ครูต้องสาธิตเป็นแบบอย่างให้นักเรียนเข้าใจ
ขั้นต อนอ ย่างล ะเอียด โดยเฉพาะก ารเปลี่ยนบ ทบาทเป็นผ ูถ้ ามข องน ักเรียน อีกท ั้งต ้องค อยก ระตุ้นใหน้ ักเรียน
ตระหนกั ว า่ ต อ้ งใชข้ ัน้ ต อนในก ารต รวจส อบต นเองในร ะหวา่ งก ารเรยี นร โู้ ดยใชก้ ลวธิ ที เี่ หมาะส มเพือ่ ส รา้ งค วาม
เข้าใจสิ่งที่อ่าน จากนั้นจึงให้เริ่มอ่านบทอ่านที่เตรียมไว้โดย เว้นระยะความยาวให้เหมาะสมกับระดับความ
สามารถของน ักเรียน จากน ั้นค รูก ็จะเริ่มส าธิตขั้นตอนก ารส รุปค วาม การส ร้างค วามก ระจ่าง การส ร้างค ำ�ถาม
และการคาดค ะเนจ ากส ิ่งที่อ ่าน ซึ่งน ักเรียนแ ละค รูก ็จ ะช ่วยกันต ั้งคำ�ถาม และโต้ตอบก ันในแต่ละขบวนการ
หลังจ ากที่น ักเรียนเข้าใจข ั้นตอนแ ล้ว ครูจ ะเลือกน ักเรียนคนห นึ่งทำ�หน้าที่แ ทนครู ซึ่งน ักเรียนผ ู้นั้นก ็จ ะเริ่ม
บทบาทข องต นในต อนต่อไปของบ ทอ ่าน กระบวนการก ็จ ะด ำ�เนินต ่อไปล ักษณะนี้จ นจบบทอ ่าน
โดยสรุป ครูสามารถพัฒนากลวิธีอ ภิปัญญาให้แก่นักเรียนข องต นในวิชาการอ ่าน ด้วยวิธี recipro-
cal teaching ซึ่งม ีขั้นตอนดังต่อไปนี้
ขัน้ ท ี่ 1 ก่อนเริ่มอ่านครูบอกนักเรียนว่ากลวิธีใด (what) ที่จะต้องเรียนรู้และนำ�มาใช้กับบทอ่าน
ทำ�ไม (why) กลวิธีเหล่านั้นจึงมีความสำ�คัญในการทำ�ความเข้าใจบทอ่าน นักเรียนจะประยุกต์ใช้อย่างไร
(how) และเมื่อไรต ้องใช้ (when)
ขน้ั ท ่ี 2 ครูให้หัวข้อชื่อเรื่อง (title) ของบทอ่านเพื่อกระตุ้นความรู้เดิมของนักเรียนเพื่อเชื่อมเข้ากับ
สิ่งที่จะเรียนร ู้ใหม่ ซึ่งจะช ่วยท ำ�ให้น ักเรียนเข้าใจเรื่องที่จะอ่านดีข ึ้น น ักเรียนก็จะค าดค ะเนว ่าส ิ่งท ี่อ่านต่อไป
คืออะไร และจ ะช ี้ให้เห็นสิ่งที่ต นมีความส นใจเ รียนร ู้
ขัน้ ท ่ี 3 ครูเป็นผู้แ สดงบทบาทในการสอนช ่วงแรก
ขน้ั ท่ี 4 ครูและนักเรียนอ่านบทอ่านในช่วงแรกพร้อมกัน โดยจะอ่านในใจหรืออ่านออกเสียงก็ได้
ตามค วามเหมาะส ม
ขั้นที่ 5 ครูถามค ำ�ถามเกี่ยวก ับสิ่งที่ได้อ ่าน และให้น ักเรียนช่วยก ันต อบ
ขน้ั ท ่ี 6 ครูสรุปประเด็นสำ�คัญจากสิ่งที่อ่าน และกระตุ้นให้นักเรียนช่วยกันคิดเพิ่มเติมเพื่อให้
บทส รุปนั้นส มบูรณ์ย ิ่งขึ้น
ขั้นที่ 7 นกั เรยี นแ ละค รอู ภปิ รายส ิง่ ท ไี่ ดเ้รยี นร รู้ ่วมก ัน เพื่อส ร้างค วามก ระจา่ งไดม้ ากข ึน้ อันจ ะท ำ�ให้
เกิดความเข้าใจท ี่แท้จริง
ขั้นที่ 8 ครูแ ละน ักเรียนค าดค ะเนส ิ่งท ี่จ ะเกิดข ึ้นในช ่วงต ่อไปข องบ ทอ ่าน จากน ั้นค รูก ็จ ะม อบห มาย
ให้น ักเรียนคนห นึ่งทำ�หน้าที่ครู
วิธีดังกล่าวจะฝึกให้นักเรียนตระหนักถึงขั้นตอนในการตรวจสอบตนเองว่าวิธีใดที่เรียนรู้และต้อง
นำ�มาใช้ ด้วยเหตุผลใด จะใช้อย่างไร และเมื่อไร อีกท ั้งนักเรียนจ ะได้รับการฝึกให้สรุปความ และส ร้างคว าม
กระจ่างต่อส ิ่งที่อ ่าน รว ามท ั้งท ักษะในก ารต ั้งคำ�ถาม และก ารค าดคะเนเนื้อเรื่องอ ีกด ้วย
2. Author’s Intended Message (AIM)
Jacobowitz (1990) กล่าวว ่า AIM เป็นก ลวิธีห นึ่งท ี่ช ่วยผ ู้อ ่านส ร้างค วามห มายท ี่ผ ู้เขียนต ้องการจ ะ
สื่อ กลวิธีการอ ่านต ามข ั้นต อนแ บบ AIM นี้ เป็นการส ่งเสริมให้ผ ู้เรียนสามารถส ร้างความห มายแ ละใจความ
สำ�คัญของบทอ่านได้ด้วยตนเอง อีกทั้งยังเป็นการพัฒนากลวิธีอภิปัญญาให้แก่ผู้เรียนโดยที่ผู้เรียนจะเกิด
ความต ระหนักถึงความรู้ท ี่ตนเองมีอ ยู่ค วามร ู้ในภาระง านท ี่ต้องปฏิบัติ และการควบคุมตนเองในข ณะอ่าน