Page 25 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 25

ปัญหาก​ ารอ​ ่าน​และ​การเ​ขียนภ​ าษาอ​ ังกฤษ 14-15

       ดัง​นั้น​ จะ​เห็น​ได้​ว่า​อภิ​ปัญญา​สามารถ​นำ�​ไป​ปรับ​ใช้ได้​กับ​ภาระ​งาน​ทุก​รูป​แบบ การนำ�​กลไก​ใน​การ​
ตรวจ​สอบ​ตนเอง​เหล่า​นี้​ไป​ใช้ ก็​คือ การ​ตรวจ​สอบ​ความ​รู้​นั่นเอง (Flavell, 1979) แท้จริงแ​ ล้ว​ความ​สำ�คัญ​
ทั้ง​เรื่อง​ความ​ตระหนัก​ใน​ตนเอง​และ​การ​ควบคุม​ตนเอง เป็น​เรื่อง​ที่​เกิด​ก่อน​ความ​นิยม​ใน​ทฤษฎี​อภิ​ปัญญา​
เสีย​อีก Baker และ Brown กล่าวว​ ่า รากฐาน​ทฤษฎีก​ าร​ควบคุม​อภิป​ ัญญา คือ แนวคิดใ​นเ​รื่องก​ ารค​ วบคุม​
การป​ ฏิบัติก​ าร ซึ่ง​ประกอบ​ด้วยก​ ารว​ างแผน​ล่วงห​ น้า (preplanning) เช่น การก​ ำ�หนดจ​ ุดป​ ระสงค์​การเ​รียน​รู้
และก​ ารป​ ระเมินค​ วามส​ ามารถใ​นก​ ารเ​รียนข​ องต​ น เป็นต้น และก​ ารว​ างแผนข​ ณะด​ ำ�เนินง​ าน (planning - in-
action) เช่น การ​ตรวจส​ อบ​การป​ ระเมินผ​ ล และ​การ​ทบทวน​การ​เรียน​รู้ข​ องต​ นเอง

       ในป​ ัจจุบันไ​ด้ม​ ีก​ ารนำ�​อภิ​ปัญญา​มา​ใช้​กับก​ ิจกรรมก​ ารอ​ ่าน จึงเ​กิดค​ ำ�​ว่า metacomprehension ขึ้น
ซึ่งหมาย​ถึง การท​ ี่ผ​ ู้​อ่านเ​กิด​ความ​ตระหนักแ​ ละ​ควบคุม​ตัวเ​องใ​นข​ ณะ​ทำ�ความ​เข้าใจ และก​ ารใ​ช้​กลวิธี​ในก​ าร​
สร้าง​ความห​ มายส​ ิ่งท​ ี่​อ่าน ประกอบ​ด้วยอ​ งค์ป​ ระกอบ​หลัก 4 ประการ คือ

       1. 	 ท่านร​ ู้เ​มื่อท​ ่านร​ ู้ (You know when you know) หมายถ​ ึง การ​ที่​เราต​ ระหนัก​ว่า เมื่อ​ไร เรา​เข้าใจ
และเ​มื่อไร เรา​ไม่​เข้าใจ

       2. 	 ท่านร​ ู้​ว่าอ​ ะไรค​ ือส​ ิ่ง​ที่​ท่านร​ ู้ (You know what it is that you know)
       3. 	 ท่านร​ ู้ว​ ่าอ​ ะไร​คือ​สิ่ง​ที่​จำ�เป็น​ต้องร​ ู้ (You know what it is that you need to know)
       4. 	 ท่าน​รู้​ประโยชน์ข​ องก​ ลวิธี​ที่​นำ�​มาใ​ช้ (You know the usefulness of intervention strate-
gies)
       ในก​ ารอ​ ่าน อภิ​ปัญญา​ประกอบด​ ้วยค​ วามร​ ู้ 2 ประเภท คือ
       1. 	 ความร​ ู้​ของ​ผู้​อ่าน​ในก​ ารเ​ลือก​ใช้​กลวิธีเ​พื่อเ​รียน​รู้​จากต​ ำ�รา
       2. 	 การค​ วบคุมท​ ี่ผ​ ู้อ​ ่านใ​ช้ใ​น​ขั้นต​ อน​ระหว่างอ​ ่าน เมื่อ​มีจ​ ุด​ประสงค์​หลาย​อย่างต​ ่างๆ กัน (Flavell,
1978)
       Mcneil (1984) ให้ค​ วาม​เห็นว​ ่า แม้ค​ รู​ส่วนใ​หญ่จ​ ะ​ประสบ​ความส​ ำ�เร็จใ​นก​ ารช​ ่วยน​ ักเรียน​ให้เ​ข้าใจ
บท​อ่าน โดย​กระตุ้น​ให้​ใช้ค​ วามร​ ู้เ​ดิมเ​พื่อ​อนุมาน​ความ​ในข​ ณะ​อ่านแ​ ละค​ าด​คะเน​สิ่ง​ที่จ​ ะ​เกิดข​ ึ้น แต่ม​ ักจ​ ะไ​ม่​
ประสบ​ความ​สำ�เร็จ​ใน​การก​ระ​ตุ้น​ให้​นักเรียน​รู้จัก​นำ�​กลวิธี​เหล่า​นั้น​มา​ใช้​ใน​การ​อ่าน​บท​อ่าน​ที่​ไม่​เคย​พบ​มา​
ก่อน ทั้ง​เพราะ​ครู​ไม่ได้​ตระหนัก​ถึง​ความ​สำ�คัญ​ใน​การ​สอน​ให้​นักเรียน​รู้จัก​มี​สติ​ใน​การ​ควบคุม​การ​ใช้​กล​วิธี​
อ่าน และ​การ​ควบคุม​ตนเอง​ใน​ขณะ​อ่าน ซึ่ง​ก็​คือ​วิธี​การ​ทาง​อภิ​ปัญญา​นั่นเอง อภิ​ปัญญา​ไม่​เพียง​แต่​ช่วย​ให้​
ผอู้​ า่ นส​ ามารถใ​ชก้​ ลวิธอ​ี า่ นไ​ดอ​้ ย่างถ​ ูกต​ อ้ งเ​ทา่ นั้น แตย​่ งั ช​ ่วยใ​หต้​ ระหนกั ถ​ งึ ค​ วามส​ �ำ คัญแ​ ละก​ ารป​ ระเมนิ ก​ ลวิธ​ี
เหล่าน​ ั้นด​ ้วย กระบวนการ​ทาง​อภิป​ ัญญาใ​นก​ ารอ​ ่านท​ ี่ Mcneil เสนอป​ ระกอบด​ ้วย
       1. 	 การ​รู้จัก​ตนเอง (self-knowledge) คือ การ​ตระหนัก​ถึง​ความ​สามารถ​ของ​ตน​ใน​การ​ทำ�ความ​
เข้าใจส​ ิ่งท​ ี่อ​ ่าน กล่าว​คือ ยอมรับ​ว่า​ตนเอง​คือ ผู้​อ่าน รู้ตัวว​ ่าต​ น​มีจ​ ุดอ​ ่อน และ​จุดแ​ ข็ง​ในก​ าร​อ่านอ​ ย่างไร
       2. 	 การ​รู้​ภาระง​ าน (task knowledge) คือ การท​ ี่​ผู้​อ่าน​รู้​ความ​รู้​ความส​ ำ�คัญใ​น​การ​เลือก​ใช้​กลวิธี​
อ่าน​ที่​เหมาะส​ ม และ​สอดคล้องก​ ับภ​ าระง​ าน องค์ป​ ระกอบส​ ำ�คัญ​ของก​ ารร​ ู้​ภาระ​งาน ได้แก่ การ​รู้​จุด​ประสงค​์
ในก​ ารอ​ ่าน การว​ างแผนใ​น​การอ​ ่าน การป​ ระเมินค​ วาม​ก้าวหน้า และ​การ​ทบทวน​การ​อ่าน
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30