Page 24 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 24
14-14 หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและบริบททางภาษา
เรอื่ งท ่ี 14.1.4 ความห มายแ ละองคป์ ระกอบของอภปิ ญั ญา
กับก ารอ ่าน
ได้ม ีผ ู้ให้ค ำ�จำ�กัดค วามข องค ำ�ว่า “อภิปัญญา” ไว้หลายท่าน ซึ่งพ อจ ะส รุปได้ด ังนี้
Flavell (1976) กล่าวว ่า อภิป ัญญา หมายถ ึง ความร ู้ท ี่ม ีเกี่ยวก ับก ระบวนการเชิงพ ุทธิพิสัยอ ันนำ�มา
ซึ่งความเข้าใจ รวมทั้งผ ลที่เกิดจากการใช้ค วามรู้นั้น นอกจากน ี้ อภิปัญญายังรวมถ ึงการใช้ค วามรู้เพื่อเลือก
ใช้ก ลวิธีที่มีประสิทธิภาพม ากที่สุดในการแ ก้ไขปัญหาที่เกิดข ึ้นระหว่างก ารเรียนรู้
Babbs และ Moe (1983) อธิบายว่า อภิปัญญา คือ ความสามารถในการตรวจสอบความรู้เชิง
พุทธิพ ิสัยข องต นเอง นั่นก ็ค ือ กระบวนการท างค วามค ิดท ี่ค วบคุมว ่าเราก ำ�ลังค ิดอ ะไรอ ยู่ในข ณะท ี่ก ารเรียนร ู้
กำ�ลังเกิดข ึ้น
Robin (1987) ให้ความเห็นว ่า อภิปัญญาหมายถ ึง
1. ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการต ่างๆ ที่น ำ�มาซึ่งความรู้ความเข้าใจ
2. การควบคุมความรู้หรือการควบคุมการปฏิบัติการ หรือการจัดการตนเอง โดยใช้กระบวนการ
วางแผน การตรวจส อบ และการป ระเมินผล
เขาส รุปว ่า “นักเรียนผ ู้ไร้ซ ึ่งว ิธีก ารท างอ ภิป ัญญาเปรียบเสมือนผ ู้เรียนท ี่ป ราศจากท ิศทาง และค วาม
สามารถในการท บทวนค วามก ้าวหน้า ความส ำ�เร็จ และทิศทางก ารเรียนรู้ในอนาคตข องต นเอง”
Jacob และ Paris (1987 อ้างถ ึงใน Irwin, 1991) ได้แ บ่งอภิป ัญญา โดยการประเมินตนเอง (self-
appraisal) ออกเป็น 3 ส่วนด้วยกัน คือ
1. ความรู้แจ้ง (declarative knowledge) ต่อกระบวนการที่นำ�มาซึ่งความรู้ความเข้าใจบทอ่าน
ด้วยตนเอง
2. ความร ู้ในข ั้นต อน (procedural knowledge) คือ การท ี่ผ ู้อ ่านร ู้ว ่าจ ะต ้องท ำ�อย่างไร จึงจ ะเข้าใจ
บทอ ่าน
3. ความร ูใ้ นเงื่อนไข (conditional knowledge) คือ การทีผ่ ูอ้ า่ นร วู้ ่า ท�ำ ไมแ ละเมือ่ ไร จงึ ต ้องเลือก
ใช้กลวิธีต ่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ (regulating strategies) เป็นต้น
Baker และ Brown (1984) กล่าวว่าอ ภิปัญญาประกอบด ้วยองค์ป ระกอบท ี่สำ�คัญ ดังนี้
1. ความต ระหนักว่าท ักษะใด กลวิธีใด และแหล่งความร ู้ใด ที่จ ำ�เป็นต ้องนำ�มาป ฏิบัติภ าระง านได้
อย่างม ีป ระสิทธิภาพ
2. ความส ามารถในก ารใชก้ ลไกในก ารต รวจส อบต นเอง เพือ่ ท �ำ ใหเ้ กดิ ค วามแ นใ่ จว า่ ป ระสบผ ลส �ำ เรจ็
เมื่อก ารป ฏิบัติภ าระง านเสร็จส ิ้นล ง เช่น การต รวจส อบผ ลข องค วามพ ยายามในก ารแ ก้ป ัญหา การว างแผนใน
ขั้นต ่อไป การป ระเมินผลก ารป ฏิบัติอ ย่างเพียรพยายาม การทดสอบ การทบทวนกลวิธีในก ารเรียน และการ
แก้ปัญหาที่ป ระสบโดยก ลวิธีนำ�วิธีอ ื่นมาทดแทน (compensatory strategies)