Page 21 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 21

ปัญหาก​ าร​อ่านแ​ ละก​ ารเ​ขียน​ภาษา​อังกฤษ 14-11

            4.1 	Making predictions คือ การท​ ี่ผ​ ู้อ​ ่านค​ าด​คะเนเ​หตุการณ์​หรือ​แนวเ​รื่องอ​ ่าน
            4.2 	Prior-knowledge integration คือ การ​ที่​ผู้​อ่าน​ใช้​ความ​รู้​เดิม​มา​บูรณ​า​การ​กับ​สิ่ง​ที่​ได้​
อ่าน เพื่อใ​ห้​ผู้​อ่านส​ ามารถต​ ีความ​และ​เข้าใจ​บท​อ่าน​ได้
            4.3 	Mental imagery คือ การ​ที่ผ​ ู้อ​ ่าน​สร้าง​จินตภาพ​ใน​ขณะ​ที่อ​ ่าน​เพื่อ​ให้​เข้า​ถึง​บทอ​ ่าน​ได้​ด​ี
ยิ่งข​ ึ้น
            4.4 	High-level thinking process คือ การ​ที่​ผู้​อ่าน​นำ�​ข้อมูล​ที่​ได้​อ่าน​ไป​ประยุกต์​ให้​ใน​
สถานการณ์ต​ ่างๆ เช่น การ​วิเคราะห์ เหตุผลท​ ี่​ผู้เ​ขียนน​ ำ�​เสนอ กา​รบู​รณาก​ าร​ความค​ ิดจ​ าก​บท​อ่านเ​พื่อ​นำ�​ไป​
สู่ความ​คิด​ในท​ าง​สร้างสรรค์ และก​ ารป​ ระเมินส​ ิ่ง​ที่ไ​ด้อ​ ่าน เป็นต้น
            4.5 	Affective response คอื การท​ ผี​่ อู​้ า่ นต​ อบส​ นองท​ างด​ า้ นอ​ ารมณ์ เชน่ เกดิ ค​ วามป​ ระทบั ใ​จ​
และ​เลียน​แบบต​ ัวล​ ะครท​ ี่ช​ อบ เป็นต้น
       5. 	Metacognitive Processes กระบวนการ​นี้​คือ ความ​ตระหนัก​และ​ควบคุม​อย่าง​มี​สติ​ต่อ​
กระบวนการเ​รียนร​ ู้ข​ องต​ ัวผู้อ​ ่าน หมายถ​ ึง การท​ ี่ผ​ ู้อ​ ่านร​ ู้ว​ ่าเ​ข้าใจห​ รือไ​ม่เ​ข้าใจบ​ างส​ ิ่งบ​ างอ​ ย่าง และร​ ู้ว​ ่าจ​ ะต​ ้อง​
ทำ�​อย่างไรเ​พื่อ​บรรลุ​เป้าห​ มาย อัน​จะ​นำ�​มา​ซึ่ง​ความเ​ข้าใจ กระบวนการน​ ี้​จะก​ ล่าวร​ ายล​ ะเอียดใ​น​ตอน​ต่อ​ไป

            หลังจ​ ากศ​ ึกษาเ​นื้อหาส​ าระ​เรื่องท​ ี่ 14.1.2 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 14.1.2
                    ใน​แนวก​ ารศ​ ึกษาห​ น่วยท​ ี่ 14 ตอนท​ ี่ 14.1 เรื่อง​ที่ 14.1.2

เรอ่ื งท​ ่ี 14.1.3 	แนวคดิ ​และท​ ฤษฎ​ีอภปิ​ ญั ญาก​ ับก​ าร​อ่าน

       กลวธิ อ​ี ภป​ิ ญั ญาเ​ป็นเ​รื่องข​ องค​ วามน​ กึ คิดเ​กี่ยวก​ บั ก​ ระบวนการเ​รยี นร​ ู้ การว​ างแผนใ​นก​ ารเ​รยี นร​ ู้ การ​
ควบคุม​การ​เรียน​รู้​ใน​ขณะ​ที่​การ​เรียน​รู้​กำ�ลัง​เกิด​ขึ้น และ​การ​ประเมิน​ตนเอง​ใน​การ​เรียน​รู้​หลัง​จาก​กิจกรรม​
การ​เรียน​รู้​จบ​สิ้น​ลง กลวิธี​อภิ​ปัญญา​สามารถ​ประยุกต์​ได้​กับ​ภาระ​งาน​ใน​การ​เรียน​รู้​ทุก​รูป​แบบ นับ​ว่า​แตก​
ต่าง​จาก​กลวิธี​เชิง​พุทธิ​พิสัย (cognitive strategies) ซึ่ง​มัก​จะ​เกี่ยวข้อง​โดยตรง​กับ​ภาระ​งาน​เฉพาะ​และ​
จุดป​ ระสงค์ใ​น​การ​เรียน และย​ ัง​ไม่​สามารถ​ประยุกต์ใ​ช้ได้​กับร​ ูป​แบบ​ของ​ภาระ​งานอ​ ัน​หลากห​ ลาย​ที่​ใช้​ในก​ าร​
เรียนอ​ ีกด​ ้วย กลวิธีอ​ ภิป​ ัญญา​เป็น​วิธี​ที่น​ ัก​อ่านใ​ช้​กระบวนการใ​ช้​เหตุผล​อย่าง​มี​สติ จึงส​ ำ�คัญต​ ่อ​การอ​ ่าน​มีส​ ต​ิ
ในข​ ณะท​ ี่ใ​ช้เ​หตุผล ก็​จะส​ ามารถ​เข้าถ​ ึงแ​ ละป​ ระยุกต์ใ​ช้เ​หตุผ​ ลน​ ั้นๆ เมื่อ​อ่านบ​ ทอ​ ่านท​ ีม่​ สี​ ถานการณ์​คล้ายคลึง​
กัน​ได้ (Chamot, 1987)

       O’Neil และ Abedi (1996) ให้​ความ​เห็น​ว่า กลวิธี​อภิ​ปัญญา​เป็นการ​ตรวจ​สอบ​ตนเอง​อย่าง​มี​สติ
และเ​ป็นร​ ะย​ ะๆ​ว่าเ​ป้าห​ มายใ​นก​ ารเ​รียนร​ ูข้​ องต​ นบ​ รรลผุ​ ลห​ รือไ​ม่ อีกท​ ั้งย​ ังห​ มายถ​ ึงก​ ารเ​ลือกใ​ช้ และป​ ระย​ ุกต​์
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26