Page 16 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 16

14-6 หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและบริบททางภาษา

เรื่อง​ท่ี 14.1.1 	ปัญหาค​ วามส​ ามารถ​ในก​ ารอ​ ่านภ​ าษาอ​ งั กฤษ​
	 ของ​เดก็ ไ​ ทย

       การอ​ ่าน​เป็นเ​ครื่อง​มือส​ ำ�คัญ​ที่สุดป​ ระการห​ นึ่ง​ที่จ​ ะไ​ด้​รับ​ความร​ ู้ห​ รือแ​ หล่งท​ ี่มาข​ อง​ความร​ ู้ (Eskey,
1970) ความส​ ามารถใ​นก​ ารอ​ า่ นเ​นือ้ หาใ​จความภ​ าษาอ​ งั กฤษไ​ดอ​้ ยา่ งม​ ป​ี ระสทิ ธภิ าพไ​ดก​้ ลายเ​ปน็ ป​ ระเดน็ ส​ �ำ คญั ​
โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​สำ�หรับ​ผู้​เรียน​ภาษา​อังกฤษ​ใน​ระดับ​มหาวิทยาลัย เพราะ​ผู้​เรียน​จะ​ได้​เรียน​รู้​การ​จัดการ​
องค์​ความ​รู้​ใหม่ ทั้ง​ด้าน​แนวคิด​และ​ข้อ​เท็จ​จริง​ผ่าน​การ​อ่าน (Everson & Tobias, 2001) อย่างไร​ก็ตาม
ผเู​้ รยี นจ​ �ำ นวนห​ นึง่ ด​ เ​ู หมอื นจ​ ะม​ ค​ี วามย​ ากล​ �ำ บากใ​นก​ ารป​ รบั ต​ วั เพราะจ​ ะต​ อ้ งอ​ า่ นต​ �ำ ราภ​ าษาอ​ งั กฤษเ​ชงิ วชิ าการ​
มากข​ ึ้น นอกจากน​ ี้ย​ ังม​ ีค​ ำ�​ศัพท์ท​ างเ​ทคนิคจ​ ำ�นวนม​ ากแ​ ละป​ ระโยคท​ ี่ซ​ ับซ​ ้อนม​ ากข​ ึ้น การอ​ ่านต​ ำ�ราท​ ี่ใ​ห้ข​ ้อมูล
จ�ำ เป็นต​ ้องม​ กี​ ารว​ ิเคราะห์ คิดอ​ ยา่ งม​ ร​ี ะบบ และม​ ก​ี ลวธิ ก​ี ารอ​ ่านเ​รยี งล​ �ำ ดบั จ​ ากป​ ระเด็นห​ ลกั ไ​ปห​ าป​ ระเด็นย​ ่อย
(top-down reading strategies) เพื่อท​ ี่​จะเ​ข้าใจ​และเ​ข้าถ​ ึง​แนวคิด​ที่ผ​ ู้​เขียนน​ ำ�​เสนอ

       ผู้​เรียน​จะ​อ่าน​ได้​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพย​ ่อม​มี​องค์​ประกอบห​ ลาย​ประการ เช่น แรงจ​ ูงใจ โอกาสก​ าร​
เรียน​รู้ ความ​รู้​ก่อน​อ่าน ทักษะ​ใน​การ​เรียน และ​ความ​แตก​ต่าง​ทาง​วัฒนธรรม​หรือ​ภาษา (Anderson &
Armbruster, 1984) จากผ​ ล​ที่ป​ รากฏพ​ บว​ ่า ผู้​เรียน​จำ�นวน​มากม​ ี​ความ​ยากล​ ำ�บากใ​น​การ​ทำ�ความ​เข้าใจต​ ำ�รา​
หรือเ​นื้อหาท​ ี่อ​ ่านห​ ากท​ ักษะก​ ารอ​ ่านข​ องเ​ขาไ​ม่ด​ ีพ​ อ กล่าวอ​ ีกน​ ัยห​ นึ่ง คือ ถ้าผ​ ู้อ​ ่านท​ ี่ม​ ีค​ วามช​ ำ�นาญใ​นก​ ารอ​ ่าน​
น้อย มักจ​ ะม​ คี​ วามย​ ากล​ ำ�บากใ​นก​ ารอ​ ่านถ​ ้าต​ ำ�ราท​ ีอ่​ ่านป​ ระกอบด​ ้วยแ​ นวคิดท​ ีซ่​ ับซ​ ้อนแ​ ละท​ ้าทาย มปี​ ระโยคท​ ี​่
มีโ​ครงสร้างซ​ ับซ​ ้อนแ​ ละย​ าว ดังน​ ั้น ในก​ ารอ​ ่านใ​ห้ป​ ระสบค​ วามส​ ำ�เร็จ ผู้เ​รียนต​ ้องม​ ีก​ ลยุทธ์ใ​นก​ ารอ​ ่านท​ ี่ห​ ลาก​
หลาย​และม​ ีป​ ระสิทธิภาพ เพื่อช​ ่วย​ให้​เข้าใจ​เนื้อหาต​ ำ�รา​ที่​กำ�ลัง​อ่าน​ได้ (Anderson & Armbruster, 1984)
กล่าว​โดย​สรุป คือ ผู้​เรียน​ต้อง​ตระหนัก​ถึง​จุด​ประสงค์​ใน​การ​อ่าน​มาก​ขึ้น และ​ใช้​กลยุทธ์​การ​อ่าน​อย่าง​ชาญ​
ฉลาดแ​ ละเ​หมาะส​ ม ตัวอย่างเ​ช่น เขาจ​ ะต​ ้องร​ ูว้​ ่าเ​มื่อไรท​ ีจ่​ ะใ​หค้​ วามส​ นใจก​ ับร​ ายล​ ะเอียดข​ องข​ ้อความบ​ างต​ อน
ทั้งย​ ังส​ ามารถ​ควบคุมแ​ ละต​ รวจ​สอบค​ วาม​เข้าใจใ​นข​ ณะท​ ี่อ​ ่าน และ​จะ​แก้ไขก​ ลยุทธ์ก​ ารอ​ ่าน​อย่างไร เมื่อร​ ู้​ว่า​
กำ�ลัง​มี​ปัญหา​กับ​ความเ​ข้าใจ​ใน​สิ่งท​ ี่​อ่าน (Baker & Brown, 1984)

       คน​ที่​ไม่ใช่​เจ้าของ​ภาษา​ต้อง​เผชิญ​ความ​ยาก​ลำ�บากใ​น​การอ​ ่านต​ ำ�รา​ภาษา​อังกฤษ​อย่าง​ไม่​ต้อง​สงสัย
และต​ ้องใ​ชค้​ วามพ​ ยายามอ​ ย่างห​ นักเ​พิ่มข​ ึ้นเ​มื่อเ​ขาต​ ้องอ​ ภิปรายห​ รือร​ ายงานส​ รุปส​ าระส​ ำ�คัญข​ องส​ ิ่งท​ ีเ่​ขาอ​ ่าน​
ในช​ ัน้ เ​รยี น เขยี นเ​อกสารร​ ายงานท​ างว​ ชิ าการ และโ​ดยเ​ฉพาะอ​ ยา่ งย​ ิง่ เ​มือ่ พ​ วกเ​ขาท​ �ำ ความเ​ขา้ ใจก​ บั เ​นือ้ หา ต�ำ รา​
เอกสารใ​นภ​ าษาอ​ ื่น (Peregoy & Boyle, 2001) การศ​ ึกษาว​ ิจัยท​ ี่​ผ่าน​มา (Flavell, 1979) ระบุ​ว่า​ส่วนใ​หญ่​
นักเรียน​ที่​มี​ผล​สัมฤทธิ์​ทางการ​เรียน​สูง​มี​แนว​โน้ม​ที่​จะ​เกิด​กระบวนการ​อ่าน​อย่าง​เข้าใจ​ด้วย​ตัว​เอง​หรือ​สร้าง​
ความต​ ระหนัก​ด้วยต​ นเอง พวกเ​ขาต​ ระหนักด​ ี​ว่า​เมื่อ​ใด​จะ​ใช้ท​ ักษะ​การ​เรียนแ​ ละ​กลยุทธ์​การ​อ่าน​ที่เ​หมาะส​ ม
ในท​ างต​ รงก​ ันข​ ้าม ผู้เ​รียนท​ ี่เ​รียนอ​ ่อนม​ ักม​ ีแ​ นวโ​น้มท​ ี่จ​ ะข​ าดค​ ุณสมบัติเ​หล่าน​ ี้ จึงแ​ สดงใ​ห้เห็นถ​ ึงส​ มรรถภาพ​
ที่ต​ ํ่า​กว่าม​ าตรฐาน​ของผ​ ู้​เรียน และ​ไม่บ​ รรลุ​เป้า​หมายก​ าร​เรียนร​ ู้ (Vaidya, 1999)
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21