Page 18 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 18
14-8 หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและบริบททางภาษา
เรือ่ งท ี่ 14.1.2 ทฤษฎแี ละห ลักการกระบ วนการอา่ นเพ่ือค วามเขา้ ใจ
Barnett (1989) อธิบายว่า ทฤษฎีเรื่องก ระบวนการการอ ่านซ ึ่งเกี่ยวข้องกับก ิจกรรมทีเ่กิดข ึ้นภ ายใน
สมองของเราในขณะอ่านเพื่อทำ�ความเข้าใจก ับบ ทอ ่านน ั้น มีห ลายร ูปแบบด้วยก ันซ ึ่งพอสรุปได้ดังนี้
1. รปู แ บบก ารอ า่ นจ ากฐ านส ยู่ อด (bottom-up reading model) ลักษณะก ระบวนการอ ่านร ูปแ บบน ี้
เริ่มต้นด้วยผ ู้อ ่านส ร้างความหมายจ ากต ัวอ ักษร คำ� วลี เรื่อยม าจนถึงระดับป ระโยค กระบวนการสร้างค วาม
หมายจากบทอ่านนี้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตามขั้นตอนจากหน่วยเล็กๆ คือ ตัวอักษร ไปจนกระทั่งถึงระดับ
ประโยค ก่อนที่ผู้อ่านจะถอดรหัสข้อมูลที่อ่านจนกระทั่งนำ�ไปสู่ความเข้าใจ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ การอ่าน
ร ปู แ บบน เี้ ปน็ กร ะบ วนก ารท ผี่ อู้ า่ นต อ้ งจ ดั แ บง่ เนือ้ หาเปน็ กล ุม่ ย อ่ ยๆ กอ่ นท จี่ ะว เิ คราะห์ แลว้ จ งึ ร วมเนือ้ หาย อ่ ย
ที่ได้อ ่านผ ่านม าเข้ากับเนื้อหาย่อยในส ่วนต่อไป จนกระทั่งเนื้อหาที่ร วมกันนั้นเกิดค วามห มายข ึ้น
ตัวอย่างก ารอ ่านร ูปแ บบน ี้ คือ รูปแ บบข อง Gough (1972 อ้างอิงใน Barnett, 1989: 14-16) ซึ่ง
อธิบายว่า กระบวนการอ่านเริ่มตั้งแต่ช ่วงเวลาแรกท ี่เห็นต ัวห นังสือจนกระทั่งเกิดความเข้าใจ การอ่านจ ะเริ่ม
จากตัวอ ักษรทีล ะตัวจ ากซ้ายไปข วา ผู้อ่านจะเก็บร วบรวมสิ่งนี้ไว้ในค วามจ ำ�ระยะส ั้น และเมื่อท ำ�ความเข้าใจ
เนื้อห าย่อยๆ นี้ได้โดยการตีความแ ล้ว กระบวนการด ังก ล่าวก็จ ะด ำ�เนินต่อไปจ นการอ่านจ บล ง
2. รปู แ บบก ารอ า่ นจ ากย อดส ฐู่ าน (top-down reading model) เป็นกร ะบ วนก ารท ี่ผ ู้อ ่านใช้ค วามร ู้ท ี่
ตนมีอ ยู่อย่าง กว ้างๆ หรือค วามรู้ร ะดับสูงในการทำ�นาย หรือค าดค ะเนบทอ ่านอย่างช าญฉลาดว่าอะไรจ ะเกิด
ขึ้นต ่อไปในบทอ่าน กล่าวโดยรวมก ็คือ กระบวนการอ่านแ บบนี้ ผู้อ่านต ้องสร้างความห มายจากบ ทอ ่านด้วย
ตนเอง (reader-driven model) มิใช่เป็นเพียงผ ู้หาความห มายจ ากบทอ่าน (text-driven model)
ตัวอย่างของรูปแ บบก ารอ ่านรูปแ บบน ี้ คือ รูปแบบข อง Goodman (1972) ซึ่งก ล่าวว่า การอ ่านเป็น
กร ะบ วนก ารร ับส ารแ ละก ระบวนการทางภ าษาศาสตร์เชิงจ ิตวิทยาที่ซ ับซ ้อน ผู้อ ่านต ้องส ร้างค วามห มายข ึ้นม า
โดยความหมายนั้นต้องตรงหรือใกล้เคียงกับความหมายที่ผู้เขียนได้สื่อไว้ในรูปตัวอักษร แต่การได้มาซึ่ง
ความห มายน จี้ ะต อ้ งม ปี ฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งต วั อ กั ษรก ับก ระบวนการค ดิ และก ระบวนการเลอื กส ิ่งช ี้นำ�ทางภ าษา
(linguistic cue) ทั้งท ี่ป รากฏเป็นต ัวอ ักษร และไม่ป รากฏเป็นตัวอ ักษร โดยอ าศัยความส ามารถของผ ู้อ ่าน
เป็นพื้นฐานในการใช้ส ิ่งช ี้นำ�นั้นเพื่อเดาหรือทำ�นายสิ่งท ี่อ ่าน สิ่งชี้นำ�ที่ Goodman กล่าวถึงคือ
1) สิ่งช ี้นำ�ในรูปข องตัวอ ักษรแ ละเสียง (grapho–phonic cues)
2) สิ่งชี้นำ�ในลำ�ดับข องประโยค (syntactic cues)
3) สิ่งช ี้นำ�ในรูปข องความหมาย (semantic cues)
Goodman ได้เสนอแบบจำ�ลองของกระบวนการอ ่านโดยคำ�นึงถึงกระบวนการท ำ�งานของสมองใน
ขณะที่อ ่าน ดังนี้
1) การเลือก (sampling) หมายถึง ผู้อ่านเลือกใช้สิ่งชี้นำ�จากข้อความที่อ่านและเลือกใช้
ความร ู้ทางภ าษาศาสตร์ข องต นเพื่อส ร้างค วามห มายจ ากข้อความที่อ่าน